ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Railway1234 (คุย | ส่วนร่วม)
Railway1234 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 45:
}}
</ref> เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] เมื่อ พ.ศ. 2456 ได้รับทุนของกรมรถไฟหลวง ไปศึกษาต่อในด้านวิศวกรรมโยธา ที่ประเทศอังกฤษจนจบการศึกษา แล้วเข้ารับราชการใน[[กรมรถไฟหลวง]]เมื่อ พ.ศ. 2465 ในตำแหน่ง นายช่างผู้ช่วยประจำกองก่อสร้างสายตะวันออกเฉียงเหนือ ตำแหน่งสุดท้ายใน[[กรมรถไฟ]]คือ ผู้อำนวยการราชการฝ่ายการช่างโยธา [[กรมรถไฟ]] [[กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)|กระทรวงคมนาคม]] (วิศวกรใหญ่ฝ่ายการช่างโยธา [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]ในปัจจุบัน) จากนั้นจึงโอนไปรับราชการในกระทรวงอุตสาหกรรม ตำแหน่ง อธิบดีกรมโลหะกิจ จนตำแหน่งสุดท้ายเป็นปลัดกระทรวงคมนาคม <ref>[http://my.dek-d.com/dek-d/story/viewlongc.php?id=491740&chapter=1 ]</ref> ในรัชกาลที่ 6 ท่านได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น '''หลวงจรัญสนิทวงศ์'''
 
== หน้าที่ราชการในกรมรถไฟแผ่นดินสยาม ==
 
* 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2467 เป็น นายช่างผู้ช่วยประจำกองก่อสร้างสายตะวันออกเฉียงเหนือ รับพระราชเงินเดือน 300 บาท
*15 มีนาคม พ.ศ. 2469 เป็น นายช่างผู้ช่วยประจำกองบำรุงทางแขวงหัวหิน กรมรถไฟแผ่นดิน
*01 เมษายน พ.ศ. 2470 เป็น นายช่างภาคชั้นที่ 2 และดำรงตำแหน่ง นายช่างบำรุงทางแขวงหัวหิน กรมรถไฟแผ่นดิน
*01 เมษายน พ.ศ. 2475 เป็น เลื่อนเป็น นายช่างภาคชั้นที่ 1
*01 ธันวาคม พ.ศ. 2475 เป็น ไปประจำกองบำรุงทางและสถานที่ กรมรถไฟหลวง
*15 ธันวาคม พ.ศ. 2475 เป็น นายช่างกำกับการกองบำรุงทางและสถานที่ กรมรถไฟหลวง
*01 มิถุนายน พ.ศ. 2484 เป็น รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการราชการฝ่ายการช่างโยธา กรมรถไฟ
*09 ตุลาคม พ.ศ. 2485 เป็น ผู้อำนวยการราชการฝ่ายการช่างโยธา กรมรถไฟ กระทรวงคมนาคม
*21 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 เป็น เลื่อนเป็น ข้าราชการพลเรือนรัฐพาณิชย์ชั้นพิเศษ จนถึง 14 พย.2487 จึงย้ายไปเป็น อธิบดีกรมโลหกิจ กระทรวงอุตสาหกรรม
 
นามของท่านถูกนำมาตั้งเป็นชื่อของถนนที่ตัดใหม่โดย[[กรมทางหลวง]]ในฝั่งธนบุรี เชื่อม[[ถนนเพชรเกษม]] ตั้งแต่[[แยกท่าพระ]] [[เขตบางกอกใหญ่]] ผ่าน[[เขตบางกอกน้อย]] ขนานไปกับ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]เป็นระยะทางประมาณ 11.4 กิโลเมตร <ref>คำนวณด้วย wikimapia Geotools </ref> ไปสิ้นสุดที่เชิง[[สะพานพระราม 6]] ในเขต[[อำเภอบางกรวย]] [[จังหวัดนนทบุรี]] เดิมถนนสายนี้กรุงเทพมหานครติดป้ายชื่อผิดเป็น "จรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์" <ref>[http://www.royin.go.th/upload/292/FileUpload/914_1649.pdf พจนานุกรมวิสามานยนามไทย : วัด วัง ถนน สะพาน ป้อม] กนกวลี ชูชัยยะ, ราชบัณฑิตยสถาน, 2544</ref>