ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บิ๊กซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tigerathiwat (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Love Art Sweet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
| parent = [[กลุ่มทีซีซี]] ([[ไทย]], [[ลาว]])<br>[[กลุ่มเซ็นทรัล]], [[ออฟฟิศเมท]] ([[เวียดนาม]])
| owner = บริษัท [[เบอร์ลี่ ยุคเกอร์]] จำกัด (มหาชน)
| products = ศูนย์การค้า, ซูเปอร์มาร์เก็ต, ไฮเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท
| homepage = http://www.bigc.co.th
}}
[[ไฟล์:บิ๊กซีราชดำริ.jpg|thumb|250px|บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาราชดำริ]]
 
'''บิ๊กซี''' ({{lang-en|Big C}}) ชื่อเต็ม '''บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด ''' ({{lang-en|BIG C SUPERCENTER COMPANY LIMITED}} ชื่อย่อ:BIGC) เป็นบริษัทที่ดำเนินกิจการค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภค ในรูปแบบร้านไฮเปอร์มาร์ทขนาดใหญ่ชื่อ '''บิ๊กซี (Big C)''' มีสาขาอยู่ทั่ว[[ประเทศไทย]] [[ประเทศลาว|ลาว]] และ[[ประเทศลาว|เวียดนาม]] โดยข้อมูลในปี พ.ศ. 2554 หลังจากควบรวมกิจการของคาร์ฟูร์ในประเทศไทย (บริษัท เซ็นคาร์ จำกัด) เข้ามา ทำให้บิ๊กซี มีสาขาทั้งหมด 122 สาขาในประเทศไทย และในปัจจุบันมีสาขาทั้งหมด 185 สาขาแบ่งออกเป็นบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 133 สาขา, บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า 16 สาขา และบิ๊กซี มาร์เก็ต 33 สาขา
 
โดยบิ๊กซีได้ให้ความหมายของคำว่า '''Big C''' คือ
บรรทัด 29:
 
== ประวัติ ==
'''บิ๊กซี''' เกิดจากความคิดกลุ่มค้าปลีกใน[[เครือเซ็นทรัล]] และ[[เครืออิมพีเรียล]]เมื่อ พ.ศ. 2536 โดยได้ทำการก่อตั้งบริษัท เซ็นทรัล ซูเปอร์สโตร์ จำกัดขึ้นมา และได้ทำการเปิดสาขาแรกบน[[ถนนแจ้งวัฒนะ]] ในปี [[พ.ศ. 2537]]<ref>http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=3141</ref> และก็ได้ทำการเปลี่ยนชื่อเป็นบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ในปี พ.ศ. 2538 แต่ต่อมาจนกระทั่งถึงช่วง[[วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540]] บริษัท Casino Guichard-Perrachon ผู้ประกอบการค้าปลีกอันดับสองของ[[ฝรั่งเศส]] ได้เข้ามาเพิ่มทุนและก็กลายเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ใน พ.ศ. 2542
 
=== การซื้อกิจการคาร์ฟูร์ในประเทศไทย ===
บรรทัด 39:
 
=== การขายกิจการให้กลุ่มทีซีซีแลนด์และกลุ่มเซ็นทรัล ===
ใน พ.ศ. 2559 บิ๊กซีได้ส่งหนังสือแจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ว่ากลุ่มคาสิโนได้ขายหุ้นที่ถืออยู่ในบิ๊กซีทั้งหมดให้กับ บริษัท ทีซีซี กรุ๊ป จำกัด ของนาย[[เจริญ สิริวัฒนาภักดี]] หลังจากเปิดการประมูลกิจการทั้งในไทย ลาว และเวียดนาม เพื่อนำเงินทุนไปชำระหนี้สินของบริษัท โดยมีกลุ่มเซ็นทรัล และทีซีซีกรุ๊ปเป็นผู้เข้าประมูล โดยการซื้อขายหุ้นได้เสร็จเรียบร้อยภายในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 ทำให้บิ๊กซีกลายเป็นกิจการค้าปลีกของคนไทยโดยสมบูรณ์ และบิ๊กซีได้มีการปรับแผนการดำเนินการโดยโอนส่วนผลิตสินค้าตัวเองไปอยู่ภายใต้การดูแลของบีเจซี เน้นทำตลาดสินค้าบีเจซีมากขึ้น นำร้านค้าในเครือทีซีซีมาเปิดให้บริการ รวมถึงขยายสาขาในศูนย์การค้าของกลุ่มทีซีซี เช่นพันทิปเชียงใหม่เป็นต้น
 
อย่างไรก็ตามทีซีซีกรุ๊ปได้สิทธิ์การบริหารเฉพาะสาขาในประเทศไทยเพียงอย่างเดียว ในขณะที่สาขาที่เวียดนาม 34 สาขา ได้ถูกโอนไปอยู่ภายใต้การดูแลของ บริษัท เซ็นทรัลออนไลน์ (ซีโอแอล) จำกัด (มหาชน) หรือออฟฟิศเมท ภายใต้การดูแลของกลุ่มเซ็นทรัลเวียดนามอีกทีหนึ่ง ซึ่งภายหลังออฟฟิศเมทได้ปรับแผนการบริหาร โดยโยกส่วนไฮเปอร์มาร์เก็ตให้กลุ่มเหงียนคิมในเวียดนามเป็นผู้บริหาร แต่ส่วนซูเปอร์มาร์เก็ตได้ให้กลุ่มเซ็นทรัลเวียดนามเป็นผู้ดูแลแทน
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/บิ๊กซี"