ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามเจ็ดปี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขไอค่อนธง
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เบราน์ชไวก์" → "เบราน์ชไวค์" +แทนที่ "ลือเนบูร์ก" → "ลือเนอบวร์ค" +แทนที่ "ราชอาณาจักรเลือกตั้งแห่งฮาโนเวอร์" → "รัฐผู้คัดเลือกฮันโนเฟอร์" +แทนที่ "เฮสเส" → "เฮ็สเซิล" +แทนที่ "เฮ็สเซิล" → "เฮ็สเซิน" +แทนที่ "บรันสวิค" → "เบราชไวค์" +แทนที่ "วูล์เฟ็นบืตเตล" → "ว็อลเฟินบึทเทิล" +แทนที่ "อาณาจักรดยุคแห่ง" → "ดัชชี" ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 9:
|territory= [[สถานะเดิมก่อนสงคราม]]ในทวีปยุโรป บริเตนและสเปนยึดอาณานิคมเกือบทั้งหมดของฝรั่งเศสใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] การควบคุมดินแดนส่วนใหญ่ของ[[ไซลีเซีย]]โดย[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย|ปรัสเซีย]]ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง
|result= แนวร่วมอังกฤษ-ปรัสเซีย-โปรตุเกสชนะ<br />สนธิสัญญาเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก<br />[[สนธิสัญญาปารีส (1763)|สนธิสัญญาปารีส]]|สนธิสัญญาปารีส]]<br />[[สนธิสัญญาฮิวเบอร์ทุสบูร์ก]]
|combatant1= {{flagicon|United Kingdom|1707}} [[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่|บริเตนใหญ่]] <br />
|combatant1= {{flagicon|United Kingdom|1707}} [[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่|บริเตนใหญ่]] และ[[จักรวรรดิบริติช|อาณานิคม]]<br />{{flagicon|Prussia|1750}} [[ปรัสเซีย]]<br /> {{flagicon|Hanover|1692}} [[ราชอาณาจักรเลือกตั้งแห่งฮาโนเวอร์|ฮันโนเฟอร์]]<br />{{flagicon image|Flag of the Iroquois Confederacy.svg}} [[สหพันธ์อิโรคว็อยซ์]]<br />{{flagicon|Portugal|1707}} [[โปรตุเกส]]<br />{{flagicon image|Flagge Herzogtum Braunschweig.svg}} [[อาณาจักรดยุคแห่งบรันสวิค|บรันสวิค-วูล์เฟ็นบืตเตล]]<br />{{flagicon|Hesse}} [[เฮสเส-คาสเซิล]]
* {{flag|Kingdom of Ireland|1542}}
* {{flagicon image|Flag of the British East India Company (1801).svg}} [[บริษัทอินเดียตะวันออก|อินเดียตะวันออก]]
* {{flagicon image|Red Ensign of Great Britain (1707-1800).svg}} [[บริติชอเมริกา]]
* {{flagicon|Hanover|1692}} [[รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค|ฮันโนเฟอร์]]
{{flagicon|Prussia|1750}} [[ปรัสเซีย]]<br /> {{flagicon image|Flag of the Iroquois Confederacy.svg}} [[สหพันธ์อิโรคว็อยซ์]]<br />{{flagicon|Portugal|1707}} [[โปรตุเกส]]<br />{{flagicon image|Flagge Herzogtum Braunschweig.svg}} [[ดัชชีเบราน์ชไวค์|เบราน์ชไวค์-ว็อลเฟินบึทเทิล]]<br />{{flagicon|Hesse}} [[เฮ็สเซิน-คาสเซิล]]
|combatant2={{flagicon|Kingdom of France}}<ref>George Ripley, Charles Anderson Dana, ''The American Cyclopaedia'', New York, 1874, p. 250, "...the standard of France was white, sprinkled with golden fleur de lis...". *[http://www.anyflag.com/history/fleur23.htm]The original Banner of France was strewn with fleurs-de-lis. *[http://digitalgallery.nypl.org/nypldigital/dgdisplaylargemeta.cfm?strucID=585779&imageID=1236061&parent_id=585395&word=&s=&notword=&d=&c=&f=&sScope=&sLevel=&sLabel=&lword=&lfield=&num=0&imgs=12&total=98&pos=1&snum=]:on the reverse of this plate it says: "Le pavillon royal était véritablement le drapeau national au dix-huitième siècle...Vue du château d'arrière d'un vaisseau de guerre de haut rang portant le pavillon royal (blanc, avec les armes de France)."[http://www.1911encyclopedia.org/Flag] from the 1911 Encyclopedia Britannica: "The oriflamme and the Chape de St Martin were succeeded at the end of the 16th century, when Henry III, the last of the house of Valois, came to the throne, by the white standard powdered with fleurs-de-lis. This in turn gave place to the tricolour."</ref> [[ราชอาณาจักรฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] และ[[จักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส|อาณานิคม]]<br />{{flagicon|Austrian Empire}} [[จักรวรรดิออสเตรีย|ออสเตรีย]]<br /> {{flag|จักรวรรดิรัสเซีย}}<br />{{flag|Sweden|name=สวีเดน}}<br />{{flag|Spain|1701|name=สเปน}} และ[[จักรวรรดิสเปน|อาณานิคม]]<br />{{flagicon image|Flag of Electoral Saxony.svg}} [[รัฐผู้คัดเลือกซัคเซิน|ซัคเซิน]]<br />{{flagicon|Sardinia|kingdom}} [[ซาร์ดิเนีย]]<br />{{flagicon image|Flag of the Mughal Empire (triangular).svg}} [[จักรวรรดิโมกุล]]
|commander1={{flagicon|Prussia|1701}} [[พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย|พระเจ้าฟรีดริชที่ 2]]<br />{{flagicon|Prussia|1701}} [[เจ้าชายไฮน์ริชแห่งปรัสเซีย|เจ้าชายไฮน์ริช]]<br />{{flagicon|Prussia|1701}} [[ฟรีดริช วิลเฮล์ม ฟอน เซย์ลิทซ์]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[พระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่|พระเจ้าจอร์จที่ 2]] <br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[พระเจ้าจอร์จที่ 3]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[วิลเลียม คาเว็นดิช ดยุกที่ 4 แห่งเดวอนเชอร์|ดยุกแห่งเดวอนเชอร์]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[ทอมัส เพลแฮม-โฮลล์ส ดยุกแห่งนิวคาสเซิล|ดยุกแห่งนิวคาสเซิล]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[John Manners, Marquess of Granby|มาร์ควิสแห่งกรันบี]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[Robert Clive|รอเบิร์ด ไคลฟ์]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1707}} [[เจฟฟรีย์ แอมเฮิร์สท์ บารอนแอมเฮิร์สที่ 1|เจฟฟรีย์ แอมเฮิร์ส]]<br />{{flagicon image|Flag Portugal (1750).svg}} [[พระเจ้าฌูเซที่ 1 แห่งโปรตุเกส|พระเจ้าฌูเซที่ 1]]<br> {{flagicon|Hanover|1692}} [[Duke Ferdinand of Brunswick-Wolfenbüttel|ดยุกแฟร์ดีนันด์]]
เส้น 24 ⟶ 29:
สงครามเจ็ดปีมักจะถือกันว่าเป็นสงครามที่ต่อเนื่องมาจาก[[สงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย]]ที่เกิดขึ้นระหว่างปี 1740 – 1748 เมื่อ[[พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย]]ได้ดินแดน[[ไซลีเซีย]]มาจากออสเตรีย [[จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา|พระนางเจ้ามาเรีย เทเรซา แห่งออสเตรีย]]ทรงจำต้องลงพระนามใน[[สนธิสัญญาเอซ์-ลา-ชาเปล (ค.ศ. 1748)|สนธิสัญญาเอซ์-ลา-ชาเปล]]เพื่อเป็นการยุติสงคราม และซื้อเวลาในการสร้างเสริมกองทัพออสเตรีย และเสาะหาพันธมิตรทางการทหารใหม่ซึ่งทรงได้รับความสำเร็จอย่างคาดไม่ถึง แผนที่ทางการเมืองยุโรปถูกร่างใหม่ใน 2-3 ปีหลังออสเตรียยุติการเป็นพันธมิตรกับบริเตนใหญ่ หลังจากที่เป็นมิตรกันมากว่า 25 ปี
 
ส่วนพันธมิตรหลักของปรัสเซียก็มีเพียงบริเตนใหญ่ซึ่งครองบัลลังก์[[รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวก์เบราน์ชไวค์-ลือเนบูร์กเนอบวร์ค|ฮันโนเฟอร์]]อยู่ บริเตนเองก็เกรงว่าฝรั่งเศสจะรุกรานฮันโนเฟอร์ เมื่อดูตามสถานการณ์แล้วคู่พันธมิตรดังกล่าวก็เป็นคู่ที่เหมาะสมกันอย่างที่สุด บริเตนใหญ่มีราชนาวีที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลกในขณะนั้น ขณะที่ปรัสเซียมีกองทัพบกที่เป็นที่น่าเกรงขามที่สุดในยุโรป การที่ได้ปรัสเซียมาเป็นพันธมิตรทำให้บริเตนใหญ่อุ่นใจมากขึ้นและสามารถหันความสนใจไปในด้านการขยายตัวของอาณานิคมต่างทวีปได้อย่างเต็มที่
 
หลังจากที่ราชวงศ์ฮับส์บูร์กของออสเตรียพ่ายแพ้ในสงครามครั้งก่อนหน้า ก็ได้มีการปฏิรูปกองทัพขึ้นใหม่ตามแบบอย่างกองทัพปรัสเซีย [[จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา|พระนางเจ้ามาเรีย เทเรซา]] ผู้มีพระปรีชาสามารถทางด้านการทหารไม่น้อยกว่าผู้ใดทรงมีบทบาทสำคัญในการสร้างความกดดันที่เป็นผลให้เกิดการปฏิรูปกองทัพครั้งนี้ จากความพ่ายแพ้หลายครั้งในสงครามก่อนหน้าประกอบกับไม่พอใจที่ก่อนหน้า บริเตนมักจะช่วยเหลือออสเตรียอย่างไม่ค่อยเต็มที่และเต็มใจ ออสเตรียจึงได้ตั้งความหวังใหม่ว่าฝรั่งเศสจะมาเป็นพันธมิตรผู้สามารถช่วยกู้ไซลีเซียคืนจากปรัสเซียได้และยุติการขยายอำนาจของปรัสเซีย