ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 65:
หากดาวเคราะห์ดวงนี้[[ดาวเคราะห์คล้ายโลก|มีองค์ประกอบเป็นหิน]]และมีความหนาแน่นเท่ากับของโลก จะได้ค่ารัศมีของดาวอย่างต่ำคือ 1.1 เท่าของ[[รัศมีของโลก|รัศมีโลก]] (''R''<sub>⊕</sub>) แต่ถ้าหากดาวเคราะห์มีความหนาแน่นน้อยกว่าโลกหรือมีมวลมากกว่ามวลอย่างต่ำที่วัดได้ครั้งแรกนั้น ขนาดของดาวที่คำนวณได้ก็จะใหญ่ขึ้น<ref name="PHL">[http://phl.upr.edu/press-releases/proxb A Potentially Habitable World in Our Nearest Star]. ''Planetary Habitability Laboratory''. 24 August 2016.</ref> ดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี มี[[อุณหภูมิสมดุลดาวเคราะห์]] 234 [[เคลวิน|K]] (−39 [[องศาเซลเซียส|°C]]) <ref name=nature_paper /> ทำให้ทราบว่าดาวเคราะห์ดวงนี้ตั้งอยู่ใน[[เขตอาศัยได้]]ของดาวฤกษ์แม่
 
=== ดาวฤกษ์ของดาวเคราะห์แม่ ===
[[ไฟล์:Angular apparent size comparison of the Sun seen from Earth and of Proxima Centauri seen from Proxima Centauri b.tiff|thumb|250px|[[ขนาดเชิงมุม]]ของดาวฤกษ์[[พร็อกซิมาคนครึ่งม้า]]เมื่อมองจากดาวเคราะห์พร็อกซิมา บี เปรียบเทียบกับขนาด[[ดวงอาทิตย์]]ที่ปรากฏบนท้องฟ้าบน[[โลก]] ถึงแม้ดาวพร็อกซิมาจะเล็กกว่าดวงอาทิตย์มาก แต่ดาวพร็อกซิมา บี ก็โคจรอยู่ใกล้ดาวฤกษ์แม่มาก]]
ดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้า บี ถูกตั้งชื่อตามดาวฤกษ์แม่[[พร็อกซิมาคนครึ่งม้า]] ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ประเภท[[ดาวแคระแดง]]ชนิดสเปกตรัม M มีมวล 0.12 เท่าของ[[มวลดวงอาทิตย์]] มีรัศมี 0.14 เท่าของ[[รัศมีดวงอาทิตย์]]<ref name=nature_paper /> อุณหภูมิผิวเท่ากับ 3,042 K<ref>{{cite journal | last1=Ségransan | first1=D. | last2=Kervella | first2=P. | last3=Forveille | first3=T. | last4=Queloz | first4=D. | title=First radius measurements of very low mass stars with the VLTI | journal=[[Astronomy and Astrophysics]] | date=2003 | volume=397 | issue=3 | pages=L5–L8 | doi=10.1051/0004-6361:20021714 | bibcode=2003A&A...397L...5S |arxiv = astro-ph/0211647 }}</ref> และอายุ 4,850 ล้านปี<ref name="spacecom">{{cite web |url=http://www.space.com/33837-earth-like-planet-proxima-centauri-numbers.html |title=Proxima b By the Numbers: Possibly Earth-Like World at the Next Star Over |first1=Samantha |last1=Mathewson |date=24 August 2016|publisher=Space.com |access-date=25 August 2016 }}</ref> เปรียบเทียบกับดวงอาทิตย์ที่มีอุณหภูมิผิว 5,778 K<ref>{{cite web |url=http://www.universetoday.com/18092/temperature-of-the-sun/ |title=Temperature of the Sun |author=Fraser Cain |date=15 September 2008 |work= |publisher=Universe Today |accessdate=19 February 2011}}</ref> และมีอายุ 4,600 ล้านปี<ref>{{cite web |url=http://www.universetoday.com/18237/how-old-is-the-sun/ |title=How Old is the Sun? |author=Fraser Cain |date=16 September 2008 |work= |publisher=Universe Today |accessdate=19 February 2011}}</ref> ดาวฤกษ์พร็อกซิมาคนครึ่งม้าหมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลาราว 83 วัน<ref name="prd" /> มีความสว่างเพียง 0.0015 เท่าของ[[ความสว่างดวงอาทิตย์]]<ref name=nature_paper /> ดาวฤกษ์ดวงนี้มีความพิเศษตรงที่อุดมไปด้วยโลหะ ซึ่งพบได้ไม่บ่อยในกลุ่มดาวฤกษ์มวลน้อย [[ความเป็นโลหะ (ดาราศาสตร์)|ความเป็นโลหะ]] ([Fe/H]) ของดาวฤกษ์มีค่า 0.21 สูงกว่าปริมาณที่วัดได้ในชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ 1.62 เท่า<ref name=aaa519_A105/><ref group=หมายเหตุ>คำนวณจากสูตร <math> [\mathrm{Fe}/\mathrm{H}] = \log_{10}{\left (\frac{N_{\mathrm{Fe}}}{N_{\mathrm{H}}}\right)_\mathrm{star}} - \log_{10}{\left (\frac{N_{\mathrm{Fe}}}{N_{\mathrm{H}}}\right)_\mathrm{sun}} </math> เมื่อแทนค่า <math> [\mathrm{Fe}/\mathrm{H}] = 0.21 </math> จะได้อัตราส่วนดาวฤกษ์ต่อดวงอาทิตย์ <math> = 1.62 </math></ref>