ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จตุรเทพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Zanglaijim (คุย | ส่วนร่วม)
ไวยากรณ์
Zanglaijim (คุย | ส่วนร่วม)
ไวยากรณ์
บรรทัด 4:
[[ไฟล์:LeonLai2006 (cropped).jpg|right|thumb|upright|หลี่หมิง ในปีพ.ศ. 2549]]
 
'''สี่มหาเทวราช''' ({{zh|c=四大天王}}) หรือ '''สี่ราชาสวรรค์''' ({{lang-en|Four Heavenly Kings}}) ใช้เป็นฉายาในวงการเพลงป๊อปฮ่องกง (Canto-pop ; ภาษาจีน : 粵語流行音樂 : a contraction of "Cantonese pop music" or HK-pop ; Hong Kong pop music) ในนาม สี่ราชาสวรรค์แห่งเพลง[[ภาษาจีนกวางตุ้ง|จีนกวางตุ้ง]] (Four Heavenly Kings of Cantopop) หรือ สี่ราชาแห่งวงการเพลงป๊อปฮ่องกง (Four Kings of Hong Kong pop-music industry) เป็นกลุ่มนักร้องชายเพลง[[ภาษาจีนกวางตุ้ง|จีนกวางตุ้ง]] Cantopop , [[ภาษาจีนกลาง|จีนกลาง]] หรือ แมนดาริน Mandopop ผู้โด่งดังที่สุด 4 คน ในยุค 90s- ของเกาะฮ่องกง ได้รับการขนานนามว่าเป็น "กระบอกเสียงของคนจีน" (Chinese Speaking) แห่งทศวรรษที่ 90 เป็นที่รู้จักในวงการเพลงทั่วโลกในนาม Four Kings of Hong Kong pop-music industry ; เรียกรวมกันสั้นๆว่า "จตุรเทพ"
 
หนังสือพิมพ์โอเรียนทัล เดลีนิวส์ (Oriental Daily News) ตั้งฉายานี้ขึ้นในปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) เพื่อยกย่องนักร้องชายฮ่องกง 4 คน ที่มียอดขายแผ่นเสียง , ยอดจัดคอนเสิร์ต , ยอดขอเพลงจากรายการวิทยุ (Entertainment / Artist - อุตสาหกรรมเพลงป๊อปของเกาะฮ่องกง) สูงสุดในสมัยนั้น ประกอบด้วย [[จาง เสฺวโหย่ว]] (Jacky Cheung) , [[หลิว เต๋อหัว]] (Andy Lau) , [[กัว ฟู่เฉิง]] (Aaron Kwok) และ [[หลี่ หมิง]] (Leon Lai) พวกเขาได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงและทรงอิทธิพลต่อวงการเพลงทั่วเอเชีย ในช่วงปี พ.ศ. 2535 - 2545 (1992 - 2002) ทั้งได้รับยกย่องให้เป็นหนึ่งใน 10 นักร้องชายเพลงจีนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในรอบ 30 ปี (ทศวรรษ ที่ 70s 80s และ 90s) ของเกาะฮ่องกง ร่วมกับ แซม ฮุย (Samuel Hui) , Roman Tam , [[อลัน ทัม]] (Alan Tam) , [[เลสลี่ จาง]] (Leslie Cheung) , [[เฉิน อี้ซวิ่น]] (Eason Chan) และ Wong Ka Kui นักร้องนำวง Beyond หมายเหตุ : สี่มหาเทวราช หรือ สี่ราชาสวรรค์ (จตุรเทพ) เป็นเทพเจ้าตามความเชื่อทางศาสนา เป็นเทพผู้พิทักษ์ประตูสวรรค์ 4 ทิศ ในพุทธศาสนาเรียกนามว่า ท้าว[[จาตุมหาราชิกา|จตุโลกบาล]]
 
==การก่อตั้งกลุ่ม==
วงการเพลงป๊อปของเกาะฮ่องกง (ภาษาอังกฤษ : '''Canto-pop''' ; ภาษาจีน : 粵語流行音樂 : ความหมายเต็ม : Cantonese pop music ) หรือ '''HK-pop''' (คำย่อจาก : Hong Kong pop music ) ใช้[[ภาษาจีนกวางตุ้ง]] เริ่มต้นจากยุคทศวรรษที่ 20 (1920s to 1950s : Shanghai origins) ต่อเนื่องยาวนานมาถึงยุคทศวรรษที่ 60 ( 1960s : Cultural acceptance) ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในกลุ่มประเทศแถบเอเชียแปซิฟิค มีประเทศที่เป็นตลาดใหญ่หลายประเทศ เช่น [[จีน]]แผ่นดินใหญ่ , [[ไต้หวัน]] , [[ญี่ปุ่น]] , [[เกาหลีใต้]] , [[เวียดนาม]] , [[มาเลเชีย]] , [[สิงคโปร์]] ฯลฯ เป็นต้น
 
เข้าสู่ยุคทศวรรษที่ 70 เป็นยุคก่อกำเนิดเพลง[[ภาษาจีนกวางตุ้ง|จีนกวางตุ้ง]]แนวเพลงสากล และเป็นยุคทองของเพลงจีนจากละครซีรีส์ (1970s : Beginning of the Golden Age : Rise of television and the modern industry ) โดยเฉพาะเพลงประกอบละครซีรีส์จากค่ายโทรทัศน์ทีวีบี(TVB) ศิลปินนักร้องที่โด่งดังในยุคนี้ นักร้องฝ่ายหญิง เช่น Liza Wang , Lydia Shum , Teresa Cheung , Felicia Wong วงการเพลงป๊อปฮ่องกงให้ฉายาว่า "สี่ดอกไม้งามแห่งเพลงจีนกวางตุ้ง" (The Four Golden Flowers) , Paula Tsui , Sandra Lang , Jenny Tseng ฯลฯ นักร้องฝ่ายชาย เช่น Roman Tam เจ้าของฉายา เจ้าพ่อแห่งเพลงจีนกวางตุ้ง (Grand Godfather of Cantopop) , Joseph Koo , [[เจิ้ง เส้าชิว]] (Adam Cheng) , แซม ฮุย (Samuel Hui) เจ้าของฉายา God of Song คนที่ 1 ของเกาะฮ่องกง , หลิน จื่อเสียง (George Lam) ฯลฯ ศิลปินกลุ่ม (Boy band , Girl group) เช่น Lotus , The Wynners (เดอะ วินเนอร์) เป็นต้น
 
ยุคทศวรรษที่ 80 ถือเป็นยุคทองของวงการเพลงป๊อปฮ่องกง (1980s : The Golden Age of Cantopop) เป็นยุคที่วงการเพลงป๊อปฮ่องกง โด่งดังเป็นที่ยอมรับในระดับเอเชีย มีศิลปินนักร้องโด่งดังทั่วเอเชีย เช่น วง [[เดอะวินเนอร์ส|The Wynners]] (เดอะ วินเนอร์) , วง Beyond ฯลฯ นักร้องฝ่ายชาย เช่น [[อลัน ทัม]] (Alan Tam) , [[เลสลี จาง|เลสลี่ จาง]] (Leslie Cheung) , เฉิน ไปเฉียง (Danny Chan) ฯลฯ นักร้องฝ่ายหญิง เช่น [[เหมย ยั่นฟาง|เหมย เยี่ยนฟาง]] (Anita Mui) เจ้าของฉายา มาดอนน่าแห่งเอเชีย , Sally Yeh , Priscilla Chan , Sandy Lam ฯลฯ ศิลปินนักร้องที่โด่งดังข้ามยุคอีกหลายคน เช่น Paula Tsui , แซม ฮุย (Samuel Hui) , หลิน จื่อเสียง (George Lam) , Jenny Tseng เป็นต้น อลัน ทัม และ เลสลี่ จาง โดดเด่นที่สุดในยุคนี้ จึงเรียกขานกันว่า ยุคสองราชาเพลงจีน : Two kings of Cantopop
บรรทัด 21:
ยุคปี 2000 มีศิลปินนักร้องหน้าใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย นักร้องฝ่ายชาย เช่น Nicholas Tse , Stephy Tang , Kary Ng , Kenny Kwan , [[เฉิน อี้ซวิ่น]] (Eason Chan) เจ้าของฉายา God of Song คนที่ 3 ของเกาะฮ่องกง และ "King of Asian pop" ฯลฯ นักร้องฝ่ายหญิง เช่น Renee Li , Coco Lee , Joey Yung ฯลฯ ศิลปินกลุ่ม เช่น สองสาววงทวินส์ (Twins) เป็นต้น ในปี 2004 มีการยกย่องศิลปินนักร้องฝ่ายชาย ในนาม "New Four Heavenly Kings" หรือ จตุรเทพ รุ่นใหม่ ประกอบด้วย หลี เคอะฉิน (Hacken Lee) , สวี่ จื้ออัน (Andy Hui) , กู่ จี้จี้ (Leo Ku) , เอ็ดมอนด์ เหลียง (Edmond Leung) วงการเพลงป๊อปฮ่องกง เรียกสั้นๆว่า กลุ่ม " Big Four " หรือ กลุ่ม "ชายสี่" เรียกยุคนี้ว่า วงการเพลงยุคใหม่ 2000s : New era
 
ยุคปี 2010 หลังจากเกาะฮ่องกงกลับคืนสู่จีนแผ่นดินใหญ่ในปี 1997 เป็นส่วนหนึ่งของจีนแผ่นดินใหญ่โดยสมบูรณ์ในปี 2005 วงการเพลงป๊อปฮ่องกง ที่นิยมใช้[[ภาษาจีนกวางตุ้ง]]ซบเซาลงเป็นลำดับ เพลงจีนส่วนใหญ่หันมาใช้[[ภาษาจีนกลาง]] หรือ แมนดาริน (Mandopop) ตามภาษาที่ใช้ในจีนแผ่นดินใหญ่ และเรียกเพลงจีนโดยรวมว่า "Chinese pop music" (จีนตัวย่อ: 中文流行音乐 ; จีนตัวเต็ม : 中文流行音樂 ; พินอิน: zhōngwén liúxíng yīnyuè) หรือ ใช้คำย่อว่า C - pop
 
== เทพ ==