ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พะยูน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
การสะกด
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ให้ทุกคนเลิกการซื้อขายพะยูน
บรรทัด 71:
พะยูน เป็นสัตว์ที่ทำให้นักเดินเรือใน[[ยุคกลาง]]เชื่อว่าคือ [[นางเงือก]] เนื่องจากแม่พะยูนเวลาให้นมลูกมักจะกอดอยู่กับอกและตั้งฉากกับท้องทะเล ทำให้แลเห็นในระยะไกลคล้าย[[ผู้หญิง]]อยู่ในน้ำ พะยูนมีชื่อเรียกใน[[ภาษายาวี]]ว่า "ดูหยง" อันมีความหมายว่า ''"หญิงสาว"''<ref name=จุด>จุดประกาย, ''แกะรอยดุหยงทะเลใต้'' โดย ชัยณรงค์ กิตินารถอินทราณี. '''กรุงเทพธุรกิจ'''ปีที่ 29 ฉบับที่ 10441: วันจันทร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2560</ref> หรือ ''"ผู้หญิงแห่งท้องทะเล"''<ref name=nationalzoo>Winger, Jennifer. 2000. [http://nationalzoo.si.edu/Animals/Whats_in_a_name/default.cfm?id=37 What's in a Name: Manatees and Dugongs]. [[Smithsonian National Zoological Park]]. Retrieved on 22 July 2007.</ref> มีนิทานพื้นบ้านเล่าว่า พะยูน เดิมเป็นผู้หญิงที่ตั้งครรภ์และอยากกินหญ้าทะเล ผู้เป็นสามีจึงไปนำหญ้าทะเลมาให้ แต่ว่าไม่พอแก่ใจ จึงลงไปกินหญ้าทะเลเองในน้ำ เมื่อน้ำทะเลขึ้น ก็กลายเป็นพะยูนไป และได้ให้สัญญากับสามีว่า หากต้องการพบให้ปักเสาไม้ลงไปหนึ่งเสา และจะมาที่เสานี้ตามที่เรียก<ref name="ล่า">{{cite web|url=http://www.youtube.com/watch?v=g1YfIsqbdLg|title=เปิดปม : ล่าพะยูน |date=1 September 2014|accessdate=3 September 2014|publisher=ไทยพีบีเอส}}</ref>
 
มีความเชื่อว่า ทั้งเนื้อ, กระดูก และเขี้ยวพะยูน มีคุณสมบัติทางเมตตามหานิยม เขี้ยวพะยูนมีชื่อเรียกเฉพาะในแวดวงการค้าในตลาดมืดว่า "งาช้างน้ำ" ทั้งเขี้ยวและกระดูกพะยูนมีราคาซื้อขายที่แพงมาก โดยมักนำไปทำเป็นหัวแหวน เหมือนกับหนามปลากระเบน<ref name="ล่า"/> นอกจากนี้แล้วยังเชื่อว่าน้ำตาพะยูนและเขี้ยวพะยูนมีอำนาจในทางทำให้เพศตรงข้ามลุ่มหลงคล้าย[[น้ำมันพราย]]ซึ่งเป็นความเชื่อที่ผิดๆและไม่ควรทำตามอย่างยิ่ง เพราะไม่สามารถเป็นจริงได้
 
{{คำพูด}}<ref>{{อ้างหนังสือ
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/พะยูน"