ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐพม่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37:
 
==ภูมิหลัง==
[[ไฟล์:Greater East Asia Conference.JPG|left|thumb|300px|การประชุมวงไพบูลย์แห่งเอเชียบูรพาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2486 ผู้เข้าร่วมจากซ้ายไปขวา: [[บามอว์]], [[จาง จิ่งฮุ่ย]], [[วาง จิงเว่ย]], [[ฮิเดกิ โตโจ]], [[พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร]], [[โฮเซ เป. เลาเรล]], [[สุภาส จันทรโภส]]]]
[[File:State of Burma Independence Ceremony, 1943.jpg|thumb|right|การก่อตั้งรัฐพม่า]]
 
ในช่วงแรกของ[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] [[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]ได้รุกราน[[พม่าภายใต้การปกครองของอังกฤษ|พม่าของอังกฤษ]]เพื่อยึดครองวัตถุดิบทั้งแหล่งน้ำมันและข้าว และเพื่อปิด[[ถนนพม่า]]ซึ่งเป็นแหล่งส่งความช่วยเหลือไปยังกองทัพ[[จีนคณะชาติ]]ของ[[เจียง ไคเช็ก]] ที่ต่อสู้กับญี่ปุ่นเป็นเวลานานใน[[สงครามจีน-ญี่ปุ่น]]
บรรทัด 52:
 
ในวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2486 ญี่ปุ่นได้มอบการปกครองรัฐฉานให้รัฐพม่ายกเว้น[[เชียงตุง]]กับเมืองพานที่ยกให้ประเทศไทย ดร.บามอว์ได้เข้าร่วมการประชุมวงไพบูลย์แห่งมหาเอเชียบูรพาที่โตเกียวเมื่อ 5-6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 กองทัพญี่ปุ่นยังคงอยู่ในพม่าแม้ว่าญี่ปุ่นจะไม่ได้ปกครองพม่าโดยตรง
 
[[ไฟล์:Greater East Asia Conference.JPG|left|thumb|300px|การประชุมวงไพบูลย์แห่งเอเชียบูรพาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2486 ผู้เข้าร่วมจากซ้ายไปขวา: [[บามอว์]], [[จาง จิ่งฮุ่ย]], [[วาง จิงเว่ย]], [[ฮิเดกิ โตโจ]], [[พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร]], [[โฮเซ เป. เลาเรล]], [[สุภาส จันทรโภส]]]]
ในช่วง พ.ศ. 2486 – 2487 กองทัพแห่งชาติพม่าได้ติดต่อกับกลุ่มการเมืองต่าง ๆ ภายในพม่า รวมทั้ง[[พรรคคอมมิวนิสต์พม่า]] ที่สู้รบใต้ดิน ต่อมา ได้จัดตั้ง[[สันนิบาตเสรีชนต่อต้านฟาสซิสต์]] โดยมีทะขิ่นโสเป็นผู้นำ พม่าได้ติดต่อกับอังกฤษโดยผ่านทางกลุ่มคอมมิวนิสต์และ[[กองทัพป้องกันยะไข่]] โดยติดต่อกับกองทัพอังกฤษ 136 ในอินเดีย ซึ่งกองทัพนี้ได้ติดต่อกองกำลังทหารกะเหรี่ยงในย่างกุ้ง เช่นเดียวกัน