ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตคันนายาว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Eihel (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8388420 สร้างโดย 2001:44C8:4701:8AC4:18F8:2388:961C:74B5 (พูดคุย) vandalism - unexplained blanking (SWMT)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ตารางเขต
[[เขต| name = คันนายาว]]
 
| english = Khan Na Yao
| คำขวัญ = การเกษตรมากมี ของดีชุมชน เที่ยวยลสวนสยาม สนามกอล์ฟเล่นกีฬา ศูนย์การค้าขนาดใหญ่ ขับสบายใจถนนวงแหวน
| province = กรุงเทพมหานคร
| postal_code = 10230
| geocode = 1043
| tree =
| flower =
| area = 25.980<ref name="ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร">ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร. [http://203.155.220.230/Internet/esp/frame.asp สถิติจำนวนประชากรและบ้านในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามรายแขวงและเขต ณ เดือน ธันวาคม 2550.] สืบค้น 24 ตุลาคม 2551.</ref>
| population = 97,187<ref>สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย,กองปกครองและทะเบียน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. '''สถิติประชากรและบ้าน - จำนวนประชากรแยกรายอายุ''' [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: [http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/ http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/]. สืบค้น 3 มกราคม 2562.</ref>
| population_as_of = 2561
| density = 3,740.83
| capital = เลขที่ 9 ซอย 01 กาญจนาภิเษก 11/5 [[ถนนกาญจนาภิเษก]] แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร 10230
| coordinates =
| officer =
| phone = 0 2379 9961-3
| fax = 0 2379 9939
| website = http://www.bangkok.go.th/khannayao
}}
'''เขตคันนายาว''' เป็น 1 ใน 50 [[เขตการปกครองในกรุงเทพมหานคร|เขตการปกครอง]]ของ[[กรุงเทพมหานคร]] จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางและหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที่
 
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ([[ฝั่งพระนคร]]) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาและหมายเลขถนน ดังนี้
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[เขตบางเขน]]และ[[เขตคลองสามวา]] มีคลองตาเร่ง คลองลำชะล่า คลองจรเข้บัว (หกขุด) คลองคู้ชุมเห็ด และคลองคู้บอนเป็นเส้นแบ่งเขตด้วยพื้นถนน
* '''ทิศตะวันออก''' ติดต่อกับเขตคลองสามวาและ[[เขตมีนบุรี]] มีคลองคู้บอนและคลองบางชันเป็นเส้นแบ่งเขต
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[เขตสะพานสูง]] มี[[คลองแสนแสบ]]เป็นเส้นแบ่งเขต
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[เขตบึงกุ่ม]] มี[[คลองกุ่ม]] [[ถนนเสรีไทย]]ฟากใต้ คลองระหัส คลองลำปลาดุก คลองหนองแขม คลองหลวงวิจิตร คลองบางชวดด้วน และ[[ถนนรามอินทรา]]​ฝังฟากใต้ เป็นเส้นแบ่งเขต
 
== ที่มาของชื่อเขต ==
เส้น 16 ⟶ 34:
'''ตำบลคันนายาว''' ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นท้องที่การปกครองท้องที่หนึ่งของ[[เขตบางกะปิ|อำเภอบางกะปิ]] [[จังหวัดพระนคร]] โดยในปี [[พ.ศ. 2506]] [[กระทรวงมหาดไทย]]ได้ขยายเขตสุขาภิบาลบางกะปิให้ครอบคลุมถึงตำบลคันนายาวด้วย<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=80|issue=114 ง|pages=2628-2629|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลบางกะปิ อำเภอบางกะปิ จังหวัดพระนคร|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2506/D/114/2628.PDF|date=26 พฤศจิกายน 2506|language=}}</ref> จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2514]] จังหวัดพระนครถูกรวมเข้ากับ[[จังหวัดธนบุรี]] เปลี่ยนฐานะเป็น[[นครหลวงกรุงเทพธนบุรี]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=88|issue=พิเศษ 144 ก|pages=816-824|title=ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๔|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2514/A/144/816.PDF|date=21 ธันวาคม 2514|language=}}</ref> และในปีถัดมา ([[พ.ศ. 2515]]) จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น[[กรุงเทพมหานคร]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=89|issue=พิเศษ 190 ก|pages=187-201|title=ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๓๕|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2515/A/190/187.PDF|date=13 ธันวาคม 2515 |language=}}</ref> ซึ่งได้เปลี่ยนคำเรียกเขตการปกครองใหม่จาก[[อำเภอ]]และ[[ตำบล]]เป็น[[เขต (การปกครอง)|เขต]]และ[[แขวง]]ตามลำดับ ตำบลคันนายาวจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น '''แขวงคันนายาว''' อยู่ในการปกครองของเขตบางกะปิ
 
ด้วยเหตุที่เขตบางกะปิมีเนื้อที่กว้างขวางมากและมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ขณะที่ท้องที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต ในปี [[พ.ศ. 2532]] กระทรวงมหาดไทยจึงประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่การปกครองใหม่เพื่อความสะดวกในการบริหารราชการ โดยจัดตั้ง[[เขตบึงกุ่ม]] ประกอบด้วยแขวงคลองกุ่ม แขวงคันนายาว และแขวงสะพานสูงแยกจากเขตบางกะปิ โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ [[4 กันยายน]]เป็นต้นไป<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=106|issue=พิเศษ 155 ง|pages=18|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางกะปิ และตั้งเขตลาดพร้าวและเขตบึงกุ่ม|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2532/D/155/18.PDF|date=16 กันยายน 2532|language=}}</ref> อย่างไรก็ตาม หลังจากแบ่งเขตใหม่แล้ว เขตบึงกุ่มยังคงมีท้องที่กว้างขวางและมีประชากรหนาแน่น ประกอบกับความเจริญทางด้านสาธารณูปโภคได้หลั่งไหลเข้าสู่พื้นที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในที่สุดเมื่อวันที่ [[14 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2540|พ.ศ. 2561]] กระทรวงมหาดไทยจึงมีประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตการปกครองใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยแยกแขวงคันนายาว รวมกับหมู่ที่ 3, 11 (บางส่วน) ของแขวงคลองกุ่ม และหมู่ที่ 1, 2, 9, 10 (บางส่วน) ของแขวงจรเข้บัว [[เขตลาดพร้าว]] จัดตั้งเป็น '''เขตคันนายาว'''<ref>[http://www.ryt9.com/news/1997-10-30/20178597/ ผู้อำนวยการเขตบึงกุ่มชี้แจงการตั้งเขตใหม่.] สืบค้น 25 ตุลาคม 2551.</ref>
 
และในวันที่ [[7 พฤศจิกายน]] ปีเดียวกัน กรุงเทพมหานครได้ประกาศตั้งแขวงคันนายาวเต็มพื้นที่เขตคันนายาวอย่างเป็นทางการ เพื่อความชัดเจนและประโยชน์ในด้านการปกครอง การบริหาร และการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ประกาศทั้ง 2 ฉบับเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันเดียวกันคือวันที่ [[21 พฤศจิกายน]] พ.ศ.​2561ปีเดียวกัน<ref name="ตั้งเขตสายไหม เขตคันนายาว เขตสะพานสูง">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=114|issue=พิเศษ 108 ง|pages=6-19|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางเขน เขตลาดพร้าว เขตบึงกุ่ม เขตประเวศ และตั้งเขตสายไหม เขตคันนายาว เขตสะพานสูง|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/E/108/6.PDF|date=18 พฤศจิกายน 2540|language=}}</ref><ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=114|issue=พิเศษ 121 ง|pages=17-19|title=ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่แขวงคันนายาว เขตคันนายาว|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/E/121/17.PDF|date=24 ธันวาคม 2540|language=}}</ref> ซึ่งเป็นวันเดียวกับที่สำนักงานเขตคันนายาวได้เปิดให้บริการเป็นครั้งแรกพร้อมกับสำนักงานเขตแยกใหม่ทางฝั่งพระนครอีก 5 แห่ง ได้แก่ [[เขตสายไหม]]<ref name="ตั้งเขตสายไหม เขตคันนายาว เขตสะพานสูง"/> [[เขตสะพานสูง]]<ref name="ตั้งเขตสายไหม เขตคันนายาว เขตสะพานสูง"/> [[เขตหลักสี่]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=114|issue=พิเศษ 108 ง|pages=2-5|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตดอนเมืองและตั้งเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/E/108/2.PDF|date=18 พฤศจิกายน 2540|language=}}</ref> [[เขตวังทองหลาง]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=114|issue=พิเศษ 108 ง|pages=20-24|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางกะปิ และตั้งเขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/E/108/20.PDF|date=18 พฤศจิกายน 2540|language=}}</ref> และ[[เขตคลองสามวา]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=114|issue=พิเศษ 108 ง|pages=25-30|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี และตั้งเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/E/108/25.PDF|date=18 พฤศจิกายน 2540|language=}}</ref> โดยใช้พื้นที่ชั้นล่างของศูนย์การค้าแฟชั่นไอส์แลนด์ซึ่งตั้งอยู่หมู่ที่ 7 แขวงคันนายาวเป็นที่ทำการ ต่อมาได้ย้ายมาตั้งสำนักงานเขตถาวรริมคลองครุ ในซอย 01 กาญจนาภิเษก 11/5 เมื่อช่วงสิ้นปี [[พ.ศ. 2552|พ.ศ. 2561]]<ref name="ประวัติความเป็นมาของเขตคันนายาว"/>
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
วันที่ [[20 กรกฎาคม|5 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2552|พ.ศ.]] 2562[[หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร]] ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้ลงนามในประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่แขวงคันนายาว และตั้งที่อยู่88/26 ซอย​ ​แขวงรามคำแหง​อินทรา 174 แขวงมีนบุรี เขตมนีบุรีเขตคันนายาว<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/E/137/71.PDF</ref> โดยมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่​ที่ [[821 กรกฎาคมกันยายน]] ปี2562 ด้วยกันเดียวกัน ส่งผลให้ปัจจุบัน เขตคันนายาวแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 2 [[แขวง]] โดยใช้[[ถนนกาญจนาภิเษก]]เป็นเส้นแบ่งเขต ได้แก่​ ได้แก่
{|class="wikitable"
!อักษรไทย||อักษรโรมัน||พื้นที่<br> (ตร.กม.)||จำนวนประชากร<br> ([[ธันวาคม]] 2561)||จำนวนบ้าน<br> ([[ธันวาคม]] 2561)||ความหนาแน่นประชากร<br> ([[ธันวาคม]] 2561)