ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชินโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8382399 สร้างโดย 110.77.149.204 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Itsukushima torii angle.jpg|thumb|[[โทะริอิ]] ที่ [[ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ]] สัญลักษณ์ที่สำคัญของชินโต]]
ครับ
'''ชินโต''' ({{ญี่ปุ่น|神道|shintō}}) เป็น[[ลัทธิ]]ตามความเชื่อเดิมของ[[ชาวญี่ปุ่น]] คำว่า ''ชินโต'' มาจากตัว[[อักษรจีน]] หรือ[[คันจิ]] 2 ตัวรวมกัน คือ ''ชิน'' ({{ญี่ปุ่น|神|shin, kami}}) หมายถึงเทพเจ้า ([[ภาษาจีน]]: 神, [[พินอิน]]: shén, เสิน) และ ''โต'' ({{ญี่ปุ่น|道|tō, do}}) หมายถึงวิถีทางหรือศาสตร์วิชา ([[ภาษาจีน]]: 道, [[พินอิน]]: dào, เต้า) หรือ ''เต๋า'' ใน[[ลัทธิเต๋า]]นั่นเอง เมื่อรวมกันแล้ว จะหมายถึงศาสตร์แห่งเทพเจ้า หรือวิถีแห่งเทพเจ้า ({{ญี่ปุ่น|かみのみち|kami no michi}}) นั่นเอง ชินโตของญี่ปุ่นมีตำนานความเชื่อว่า ''เทพเจ้ามีมากมายนับไม่ถ้วน'' ทั้งในป่า บนภูเขา ทะเล แม่น้ำ ลำธาร ในสายลม แม้แต่ในบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นาในธรรมชาติที่ที่มีความบริสุทธิ์ล้วนเป็นที่สถิตของเทพเจ้าได้ทั้งสิ้น จึงมีคำที่ว่า "เทพแปดล้านองค์" ({{ญี่ปุ่น|八百万神 (やおよろずのかみ)|Yaoyorozu no Kami}}) เป็นการรวมคำเพื่อแสดงว่ามีทวยเทพอยู่มากมาย<ref>[https://kotobank.jp/word/%E5%85%AB%E7%99%BE%E4%B8%87%E7%A5%9E-874603 八百万神] [[kotobank]] (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref>
 
'''ชินโต''' ({{ญี่ปุ่น|神道|shintō}}) เป็น[[ลัทธิ]]ตามความเชื่อเดิมของ[[ชาวญี่ปุ่น]] คำว่า ''ชินโต'' มาจากตัว[[อักษรจีน]] หรือ[[คันจิ]] 2 ตัวรวมกัน คือ ''ชิน'' ({{ญี่ปุ่น|神|shin, kami}}) หมายถึง[[เทพเจ้า]] ([[ภาษาจีน]]: 神, [[พินอิน]]: shén, เสิน) และ ''โต'' ({{ญี่ปุ่น|道|tō, do}}) หมายถึงวิถีทางหรือศาสตร์วิชา ([[ภาษาจีน]]: 道, [[พินอิน]]: dào, เต้า) หรือ ''[[เต๋า]]'' ใน[[ลัทธิเต๋า]]นั่นเอง เมื่อรวมกันแล้ว จะหมายถึงศาสตร์แห่งเทพเจ้า หรือวิถีแห่งเทพเจ้า ({{ญี่ปุ่น|かみのみち|kami no michi}}) นั่นเอง ชินโตของญี่ปุ่นมีตำนานความเชื่อว่า ''[[พหุเทวนิยม|เทพเจ้ามีมากมายนับไม่ถ้วน]]'' ทั้งในป่า บนภูเขา ทะเล แม่น้ำ ลำธาร ในสายลม แม้แต่ในบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นาในธรรมชาติที่ที่มีความบริสุทธิ์ล้วนเป็นที่สถิตของเทพเจ้าได้ทั้งสิ้น จึงมีคำที่ว่า "เทพแปดล้านองค์" ({{ญี่ปุ่น|八百万神 (やおよろずのかみ)|Yaoyorozu no Kami}}) เป็นการรวมคำเพื่อแสดงว่ามีทวยเทพอยู่มากมาย<ref>[https://kotobank.jp/word/%E5%85%AB%E7%99%BE%E4%B8%87%E7%A5%9E-874603 八百万神] [[kotobank]] (ในภาษาญี่ปุ่น) เรียกข้อมูลเมื่อ 2018-05-28.</ref>
ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถือให้เป็นลัทธิความเชื่อพื้นเมืองประจำประเทศ[[ญี่ปุ่น]] พิธีกรรมของลัทธิชินโตนี้มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและธรรมเนียมปฏิบัติต่าง ๆ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้ถือเป็นพิธีกรรมอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งศาสนา[[พุทธศาสนา|พุทธ]] และ [[ลัทธิขงจื๊อ]] กับ [[ลัทธิเต๋า]] รวมทั้งภายหลัง ศาสนา[[ศาสนาคริสต์|คริสต์]] ศาสนา[[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]] ได้เริ่มให้เข้ามาในดินแดน[[ญี่ปุ่น]] ตั้งแต่[[ศตวรรษที่ 6]] พิธีกรรมของลัทธิชินโตได้ถูกบันทึกและบัญญัติเป็นครั้งแรกในคัมภีร์[[โคะจิคิ]] ({{ญี่ปุ่น|古事記|Kojiki}}) และจดหมายเหตุ[[นิฮงโชะกิ]] ({{ญี่ปุ่น|日本書紀|Nihon Shoki}}) ใน[[ศตวรรษที่ 8]] เพื่อตอบโต้ศาสนาที่มีระดับความพัฒนามากกว่าจากแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ตาม งานเขียนในยุคแรกๆก็ยังมิได้บ่งบอกว่าเป็น ''ลัทธิชินโต'' แต่งานเขียนในสมัยต่อมาก็ได้บ่งชี้อย่างชัดเจน พร้อมขนบธรรมเนียบของสังคมเกษตรกรรมและเทศกาลประจำปีเข้าไปด้วย รวมไปถึงความเชื่อเรื่องเทพปกรณัมและการกำเนิดโลกต่าง ๆ ซึ่งเล่าถึงต้นกำเนิดของชนชาติ[[ญี่ปุ่น]] ส่วนใหญ่จะหมายถึงเชื้อสาย[[ยะมะโตะ]] ({{ญี่ปุ่น|大和民族|Yamato-minzoku}}) และ[[อิสึโมะ]] ({{ญี่ปุ่น|出雲|Izumo}}) ในสมัยนั้น [[พุทธศาสนา]]ได้แพร่จาก[[จีน]]เข้าสู่[[ญี่ปุ่น]] และมีผสมผสานความเชื่อดั้งเดิม อย่างเช่น ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในลัทธิชินโตและความเชื่อเรื่อง[[พระโพธิสัตว์]]ใน[[ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น]] เป็นต้น
 
ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถือให้เป็นลัทธิความเชื่อพื้นเมืองประจำประเทศ[[ญี่ปุ่น]] พิธีกรรมของลัทธิชินโตนี้มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและธรรมเนียมปฏิบัติต่าง ๆ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้ถือเป็นพิธีกรรมอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งศาสนา[[พุทธศาสนา|พุทธ]] และ [[ลัทธิขงจื๊อ]] กับ [[ลัทธิเต๋า]] รวมทั้งภายหลัง ศาสนา[[ศาสนาคริสต์|คริสต์]] ศาสนา[[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]] ได้เริ่มให้เข้ามาในดินแดน[[ประเทศญี่ปุ่น]] ตั้งแต่[[ศตวรรษที่ 6]] พิธีกรรมของลัทธิชินโตได้ถูกบันทึกและบัญญัติเป็นครั้งแรกในคัมภีร์[[โคะจิคิ]] ({{ญี่ปุ่น|古事記|Kojiki}}) และจดหมายเหตุ[[นิฮงโชะกิ]] ({{ญี่ปุ่น|日本書紀|Nihon Shoki}}) ใน[[ศตวรรษที่ 8]] เพื่อตอบโต้ศาสนาที่มีระดับความพัฒนามากกว่าจากแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ตาม งานเขียนในยุคแรกๆก็ยังมิได้บ่งบอกว่าเป็น ''ลัทธิชินโต'' แต่งานเขียนในสมัยต่อมาก็ได้บ่งชี้อย่างชัดเจน พร้อมขนบธรรมเนียบของสังคมเกษตรกรรมและเทศกาลประจำปีเข้าไปด้วย รวมไปถึงความเชื่อเรื่องเทพปกรณัมและการกำเนิดโลกต่าง ๆ ซึ่งเล่าถึงต้นกำเนิดของชนชาติ[[ญี่ปุ่น]] ส่วนใหญ่จะหมายถึงเชื้อสาย[[ยะมะโตะ]] ({{ญี่ปุ่น|大和民族|Yamato-minzoku}}) และ[[อิสึโมะ]] ({{ญี่ปุ่น|出雲|Izumo}}) ในสมัยนั้น [[พุทธศาสนา]]ได้แพร่จาก[[จีน]]เข้าสู่[[ญี่ปุ่น]] และมีผสมผสานความเชื่อดั้งเดิม อย่างเช่น ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในลัทธิชินโตและความเชื่อเรื่อง[[พระโพธิสัตว์]]ใน[[ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น]] เป็นต้น
 
ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถูกจัดให้เป็นลัทธิบูชาเทพเจ้าหลายองค์ หรือ [[พหุเทวนิยม]] และลัทธิบูชาภูตผีวิญญาณ ที่เน้นความบริสุทธิ์ของพิธีกรรมเป็นอย่างมาก รวมถึงยกย่องเกียรติและความมีตัวตนของเทพเจ้า ({{ญี่ปุ่น|神|kami}}) ซึ่งมีทั้งเทพเจ้าที่มีมาจากการยกบุคคลให้เป็นเทพ หรือการบูชาธรรมชาติ และเทพเจ้ายังสามารถมีลูกได้ด้วย ลัทธิชินโตเป็นลัทธิที่ให้ความสำคัญกับพิธีกรรมทางศาสนาเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากเป็นวิธีที่จะทำให้ศาสนิกชนเข้าถึงและเป็นหนึ่งเดียวกับเทพเจ้าได้มากที่สุด ลัทธิชินโตยุคใหม่ไม่มีสถาบันที่ที่ยกตัวเป็นผู้ควบคุมส่วนกลาง มีเพียงแต่กลุ่มคนที่พยายามรักษาวิถีปฏิบัติของลัทธิชินโตมาตั้งแต่สมัยบรรพกาลจนถึงปัจจุบัน
บรรทัด 130:
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาชินโต]]
[[หมวดหมู่:ประเทศญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:วัฒนธรรมญี่ปุ่น]]
{{โครงศาสนา}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ชินโต"