ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยามนูสารบัญชา (อัมพร จารุประกร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สวิตา ปีตะวรรณ ย้ายหน้า พระยามนูสารบัญชา ไปยัง พระยามนูสารบัญชา (อัมพร จารุประกร): เพื่อให้ข้อมูลสมบูรณ์
เพิ่มรูปภาพ
บรรทัด 1:
<gallery>
'''พระยามนูสารบัญชา''' นามเดิม '''อัมพร''' เกิดเมื่อ พ.ศ ๒๔๒๓ สันนิษฐานว่าสืบเชื้อสายมาจากสกุลหนึ่งในสกุลเจ้าเมืองมลายูที่ส่งลูกหลานเข้ามาศึกษาเล่าเรียนในบางกอก
ไฟล์:พระยามนูสารบัญชา.jpg
</gallery>'''พระยามนูสารบัญชา''' นามเดิม '''อัมพร''' เกิดเมื่อ พ.ศ ๒๔๒๓ สันนิษฐานว่าสืบเชื้อสายมาจากสกุลหนึ่งในสกุลเจ้าเมืองมลายูที่ส่งลูกหลานเข้ามาศึกษาเล่าเรียนในบางกอก
 
== ประวัติการรับราชการ ==
เส้น 16 ⟶ 18:
หนังสือกราบบังคมทูลลาออก ลงวันที่ ๒ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙ แสดงรายนามผู้ลงชื่อลาออก ได้แก่ พระยาจักรปาณีศรีศีลปริสุทธิ์, ขุนหลวงพระยาไกรสี, พระยาธนกิจรักษา, พระยามนูสารสาสตร์บัญชา, หลวงนรนิติบัญชาการ, หลวงสุธรรมานุวัตร, หลวงประไพพิทยาคุณ, หลวงประดิษฐ์พิจารณการ, หลวงภักดีวินิจฉัย, หลวงไพจิตรสัตยาดุล, หลวงนิติธรรมพิทักษ์, หลวงปริพนธพจนพิสุทธิ์, หลวงพิศัลย์สารนิติ, หลวงธรารักษ์มนตรี, หลวงอำไพพิจารณกิจ, นายบุญช่วย, หลวงวิศาลวินิจฉัย, พระยาธรรมสารเวทย์, พระยามนูเนตรบรรหาร, พระอนุบุตรศาสตราคม, หลวงศรีสัตยารักษ์, หลวงวิไชยนิตินาท, หลวงสกลสัตยากร, หลวงอาทรคดีราษฎร, นายชม, หลวงอภิบาลประเพณี, หลวงพฤฒิสารประสิทธิ์ และหลวงฤชาประมวญ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระมหากรุณาพระราชทานอภัยให้กลับเข้ารับราชการในภายหลัง
 
ลาออกจากราชการในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ เมื่ออายุได้ ๕๗ ปี โดยตำแหน่งราชการตำแหน่งสุดท้าย คือผู้พิพากษาศาลฏีกา
 
== ประวัติส่วนตัว ==