ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Larazhivago (คุย | ส่วนร่วม)
→‎อ้างอิง: ๙{{สถาบันการอาชีวศึกษา
บรรทัด 73:
 
== พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ==
{{ดูเพิ่มที่|พิธีพระราชทานปริญญาบัตร}}[[ไฟล์:Dstccongrat สอก..png|thumb|ครุยวิทยะฐานะประจำสถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร|link=Special:FilePath/Dstccongrat_สอก..png]]งานพิธีพระราชทานปริญญาบัตรให้แก่สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร
 
'''รุ่นที่ 1 ปี 2560''' <ref>[http://www.vec.go.th/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7/tabid/103/ArticleId/12096/-1.aspx http://www.vec.go.th/%]</ref>นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างล้นพ้นที่[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ [[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จแทนพระองค์ในการพระราชทานปริญญาบัตรให้แก่ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยี จากสถาบันการอาชีวศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทั้ง 23 แห่ง ในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ซึ่งจะจัดขึ้น ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 วิทยาลัยการอาชีวศึกษาปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี โดยผู้ที่จะเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร เป็นผู้สำเร็จการศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2557 ถึง ปีการศึกษา 2559 รวมเป็นจำนวน 3,200 คน โดยแบ่งเป็นปีการศึกษา 2557 จำนวน 508 คน, ปีการศึกษา 2558 จำนวน 987 คน และปีการศึกษา 2559 จำนวน 1,705 คน และผลสำเร็จในครั้งนี้ เกิดขึ้นจากแผนยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาด้านวิชาชีพของอาชีวศึกษา ให้ดำเนินการจัดการศึกษาต่อเนื่องได้ถึงระดับปริญญาตรี โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา ปี พ.ศ. 2551 ให้สถาบันการอาชีวศึกษาเป็นสถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี มีเป้าหมายหลักในการผลิตและพัฒนากำลังคนให้เป็นผู้สร้างสรรค์นวัตกรรม เป็นบัณฑิตนักเทคโนโลยีสายปฏิบัติการ ที่สอดคล้องกับความต้องการของกำลังคนของประเทศ
{| class="wikitable" width="100%"
! colspan="4" style="background: #A73B24; color:white; " |พิธีพระราชทานปริญญาบัตร