ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
พ.ศ.
Art Tititham Narak (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| flying_hours =
<!-- Leadership -->
| commander-in-chief = [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| commander-in-chief_title = จอมทัพ
| minister = พลเอก [[ประวิตร วงษ์สุวรรณ]]
บรรทัด 46:
| ranks = [[ยศทหารและตำรวจไทย|ยศทหารของกองทัพไทย]]
}}
'''กองทัพไทย''' ({{lang-en|Royal Thai Armed Forces}}) เป็นกองทัพของราชอาณาจักรไทย แบ่งเป็นสามเหล่าทัพ ได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ
 
== ประวัติ ==
วิวัฒนาการจนเป็นกองทัพไทยในปัจจุบันเกิดขึ้นในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] ซึ่งทรงเล็งเห็นความจำเป็นและความสำคัญของกองทัพ จึงทรงปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินในด้านต่าง ๆต่างๆ เน้นด้านการทหารเป็นสำคัญ ทรงสนับสนุนกิจการทหารด้วยการส่งพระราชโอรสหลายพระองค์ไปทรงศึกษาวิชาทหารใน[[ทวีปยุโรป]] ซึ่งทรงนำวิทยาการทหารสมัยใหม่มาปรับปรุงทางทหารของไทยจนเจริญทัดเทียมชาติตะวันตก นอกจากนี้ยังทรงตราพระราชบัญญัติเกณฑ์ทหาร ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) ให้ชายอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์ รับราชการทหาร 2 ปีแล้วปลดเป็นกองหนุน ทั้งนี้ การยกเลิกระบบ[[ไพร่]]ก่อนหน้านี้ ได้ทำให้เกิดระบบทหารอาชีพขึ้นในประเทศไทย
 
ในรัชสมัยนี้ เริ่มมีนายทหารประจำการเป็นครั้งแรก โดยได้จัดตั้งกองทัพบกและกองทัพเรือ ซึ่งแยกการบริหารออกจากกันโดยเด็ดขาด จัดแบ่งกำลังรบออกเป็น 10 กองพล{{อ้างอิง}} จัดกำลังไปประจำในท้องถิ่นหัวเมืองสำคัญ จัด[[โรงเรียนคะเด็ตทหารมหาดเล็ก]] (ต่อมาคือ[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]]) และ[[โรงเรียนนายเรือ]] เพื่อผลิตทหารประจำการในกองทัพ
 
ต่อมาสมัย[[รัชกาลที่ 6]] และ[[รัชกาลที่ 7]] การจัดกองทัพได้ขยายเต็มรูปแบบ เริ่มกิจการการบินและก้าวหน้าจนสามารถสร้างเครื่องบินเองได้ จวบจนถึงสมัยปัจจุบัน (ร.8-9) กองทัพไทยได้พัฒนาเพิ่มขึ้นอีกมาก ประกอบด้วยกำลังครบทั้งสามเหล่า คือ [[กองทัพบกไทย|กองทัพบก]] [[กองทัพเรือไทย|กองทัพเรือ]] [[กองทัพอากาศไทย|กองทัพอากาศ]] ได้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องจนมีศักยภาพสูง และมีบทบาทเป็นที่ยอมรับในประชาคมโลก สามารถส่งกำลังทหารไปช่วยมิตรประเทศในการสงครามต่าง ๆต่างๆ หลายครั้ง อาทิเช่น [[สงครามโลกครั้งที่ 1]] ในยุโรป [[สงครามเกาหลี]] [[สงครามเวียดนาม]] [[การรักษาสันติภาพในติมอร์ตะวันออก]] เป็นต้น
 
ใน พ.ศ. 2557 เว็บไซต์โกลบอลไฟเออร์พาวเวอร์ (GlobalFirepower) จัดอันดับความแข็งแกร่งของกองทัพไทยอยู่อันดับที่ 24 ของโลก (จาก 106 ประเทศ)<ref>[http://www.globalfirepower.com/countries-listing.asp Countries Ranked by Military Strength (2014)]. สืบค้น 3-9-2557.</ref>
บรรทัด 78:
*'''[[กรณีพิพาทอินโดจีน|สงครามไทย-ฝรั่งเศส]]''' (ค.ศ. 1940 [[สงครามกัมพูชา–เวียดนาม|–]] 1941)
 
สงครามครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อเดือน ตุลาคม ค.ศ. 1940 เมื่อประเทศที่อยู่ภายใต้ลัทธิ[[ฟาสซิสต์]]กฎของ[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ตัดสินใจที่จะบุก[[ฝรั่งเศส]]ภายใต้ระบอบการปกครองของวิชี (หลังจากนาซีครอบครองกรุง[[ปารีส]]) เพื่อนำดินแดนที่ถูกฝรั่งเศสเอาไปกลับคืนมา
 
*'''[[สงครามโลกครั้งที่ 2]]''' (ค.ศ. 1942 [[สงครามกัมพูชา–เวียดนาม|–]] 1945)
เกิดขึ้นเมื่อกองทัพ[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]ต้องการผ่านดินแดนไทยเพื่อที่จะโจมตี[[บริติชอินเดีย]] และ[[แหลมมลายู]] และต้องการใช้กำลังทหารของไทยได้เกิดการปะทะขึ้นระหว่างทหารของจักรวรรดิญี่ปุ่นกับไทยและสิ้นสุดเมื่อชั่วโมงแรกในวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1941 โดยไทยยอมให้กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นเคลื่อนทัพผ่านดินแดนไทยได้ ต่อมาหลังจากถูกเครื่องบินโจมตีทิ้งระเบิดใส่กรุงเทพ รัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตรในวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1942 โดยไทยได้ส่งทหารบุก[[พม่า]]
 
*'''[[สงครามเกาหลี]]''' (ค.ศ. 1950 [[สงครามกัมพูชา–เวียดนาม|–]] 1953)
บรรทัด 88:
*'''[[สงครามเวียดนาม]]''' (ค.ศ. 1955 [[สงครามกัมพูชา–เวียดนาม|–]] 1975)
[[ไฟล์:Thai Soldiers Board C-130 at Long Thanh for Trip Home.jpg|thumb|ทหารไทยที่เข้ารบรบในเวียดนาม]]
เกิดขึ้นเมื่อมีเวียดนามเหนือมีความคิดที่ว่าจะรวมเวียดนามเป็นหนึ่งเดียว ไทยได้ส่งทหารไทยเข้ารบรบกับประเทศที่เป็นพันธมิตร เพื่อป้องกันภัยจากลัทธิ[[คอมมิวนิสต์]] โดยสงครามจบลงด้วยชัยชนะของเวียดนามเหนือ และทหารไทยเสียชีวิต 1,351 นาย
 
*'''[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย|การปราบปรามคอมมิวนิสต์]]''' (ค.ศ. 1976 [[สงครามกัมพูชา–เวียดนาม|–]] 1980)
เกิดเมื่อกลุ่มนักศึกษาและประชาชนภายใน บริเวณ[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ซึ่งกำลังชุมนุมประท้วงเพื่อขับไล่ให้จอมพล[[ถนอม กิตติขจร]]ออกนอกประเทศ ในเหตุการณ์นี้ ตำรวจตระเวนชายแดนนำโดยค่ายนเรศวรจากหัวหิน, กลุ่มลูกเสือชาวบ้าน ตำรวจ และกลุ่มคนที่ตั้งโดยงบ กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) คือ [[กลุ่มนวพล]] และ [[กลุ่มกระทิงแดง]] ได้ใช้กำลังอย่างรุนแรง ทำให้มีผู้ที่บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายเป็นจำนวนมาก
 
*'''[[เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนาม]]''' (ค.ศ. 1979 [[สงครามกัมพูชา–เวียดนาม|–]] 1988)
บรรทัด 97:
 
*'''[[สมรภูมิบ้านร่มเกล้า|สงครามชายแดนไทย-ลาว]]''' (ค.ศ. 1987 [[สงครามกัมพูชา–เวียดนาม|–]] 1988)
เกิดขึ้นเมื่อลาวได้ยกกำลังเข้ายึดพื้นที่บ้านร่มเกล้า ในเขต[[อำเภอชาติตระการ]] [[จังหวัดพิษณุโลก]] และเกิดปะทะกับกองกำลังทหารพราน 3405 ตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 และยึดเนิน 1428 เป็นที่มั่น และสิ้นสุดลงเมื่อ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 หลังจากฝ่ายไทยได้ใช้กองทัพอากาศโจมตีเข้าไปในดินแดนลาว 30-40 กิโลเมตร และฝ่ายลาวโดยนายไกสอน พมวิหาร นายกรัฐมนตรี ได้เจรจาขอหยุดยิงเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 และเสนอให้ถอนกำลังของทั้งสองฝ่ายออกจากกันเป็นระยะ 3 กิโลเมตร
 
*'''[[องค์การบริหารช่วงเปลี่ยนผ่านแห่งสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก|ติมอร์ตะวันออก]]''' (ค.ศ. 1999 [[สงครามกัมพูชา–เวียดนาม|–]] 2002)
 
เกิดเมื่อมีวิกฤตในติมอร์ตะวันออก ไทยร่วมกับประเทศอื่น ๆอื่นๆ 28 ประเทศ ให้มีกองทัพระหว่างประเทศในติมอร์ตะวันออกหรือ INTERFET เริ่มเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1999 ถึง 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2002[[ไฟล์:US Army instructs Thai Army 2001.jpg|thumb|ทหารไทยและทหารอเมริกันในการฝึก[[คอบร้าโกลด์]]ในปี 2001]]
 
*'''[[สงครามอิรัก]]''' (ค.ศ. 2003 [[สงครามกัมพูชา–เวียดนาม|–]] 2004)