ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไขควง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 7735729 โดย 122.155.46.79ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 8:
ไขควงประกอบด้วย ส่วนประกอบหลัก 3 ส่วนคือ
 
# ด้ามไขควง (Handle)
# ด้ามไขควง (Handle)ความยาวนี้ และอีกประการหนึ่งไขควงขนาดยาว ปากไขควงจะกว้างกว่าปากไขควงขนาดสั้น ความหนาของปากไขควงจะขึ้นอยู่กับความกว้างของปาก ปากกว้างมากก็จะยิ่งมีความหนามากขึ้น ความหนาของปากไขควงมีผลโดยตรงกับการออกแรงบิดตัวสกรูเพราะถ้าขนาดของปากไขควงไม่พอดีกับร่องผ่าของหัวสกรูจะทำให้การขันพลาดทำให้หัวสกรูเยินหรือต้องสูญเสียแรงงานส่วนหนึ่งในการประคองปากไขควงให้อยู่บนร่องหัวสกรู แทนการหมุนสกรู
# ก้านไขควง (Blade or Ferule)
# ปากไขควง (Tip)
 
ด้ามไขควง ออกแบบให้มีรูปทรงที่สามารถจับได้ถนัดมือ และสามารถบิดไขควงไป-มา ได้แรงมากที่สุด ไขควงจะทำจากวัสดุต่าง ๆ เช่น ไม้ พลาสติก หรือ โลหะบางชนิดตามประเภทการใช้งาน
 
ปากไขควง จะทำจากเหล็กล้าเกรดดี ทรงกลมหรือสี่เหลี่ยม จัตุรัส ตีขึ้นรูปให้ลาดแบน และ ชุบแข็งด้วยความร้อน ในส่วนที่ไม่ได้ตีขึ้นรูปจะเป็นก้านไขควง ถ้าเป็นไขควงที่ใช้สำหรับงานเบาจะเป็นเหล็กกล้าทรงกลม ถ้าเป็นไขควงสำหรับใช้งานหนักจะเป็นเหล็กกล้าทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส เพื่อให้สามารถใช้ประแจหรือคีมจับเพิ่มแรงบิดงานได้
 
ก้านไขควงส่วนที่ต่อกับด้ามจะตีเป็นเหลี่ยมลาด เพื่อให้สวมได้สนิทกับด้าม เพื่อให้ด้ามจับก้านไขควงได้สนิทและไม่หมุนเมื่อใช้งานไขควง ในปัจจุบันมีการออกแบบให้ก้านไขควงทะลุตลอดด้ามที่เป็นพลาสติกหรือไฟเบอร์ และทำเป็นแท่นรับแรงสามารถใช้ค้อนเคาะตอกเพื่อการทำงานบางประเภทได้
 
#ขนาดความกว้างของปากไขควง ด้ามจะมีสัดส่วนมาตรฐานสัมพันธ์กับขนาดความยาวทั้งหมดของไขควง (Handle)ซึ่งเป็นข้อสำคัญอย่างยิ่งสำหรับการเลือกใช้ไขควงเพราะแรงบิดที่กระทำต่อตัวสกรูจะเป็นผลส่วนหนึ่งมาจากความยาวนี้ และอีกประการหนึ่งไขควงขนาดยาว ปากไขควงจะกว้างกว่าปากไขควงขนาดสั้น ความหนาของปากไขควงจะขึ้นอยู่กับความกว้างของปาก ปากกว้างมากก็จะยิ่งมีความหนามากขึ้น ความหนาของปากไขควงมีผลโดยตรงกับการออกแรงบิดตัวสกรูเพราะถ้าขนาดของปากไขควงไม่พอดีกับร่องผ่าของหัวสกรูจะทำให้การขันพลาดทำให้หัวสกรูเยินหรือต้องสูญเสียแรงงานส่วนหนึ่งในการประคองปากไขควงให้อยู่บนร่องหัวสกรู แทนการหมุนสกรู
 
ก่อนการนำไขควงไปใช้งาน ต้องตรวจสอบปากไขควงให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้งาน คือ ปากต้องเรียบ ไม่มีรอยบิด และเมื่อพิจารณาดูจากด้านล่างต้องมีรูปทรงเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ไขควงที่ปากชำรุดสึกหรอไม่เรียบตรงหรือปากแตกร้าวจะเป็นอันตรายต่อการใช้งานมาก เพราะเมื่อใช้งานปากไขควงจะไม่สัมผัสกับร่องบนหัวสกรูเต็มที่ เมื่อออกแรงบิดจะทำให้พลาดจากร่องซึ่งทำให้หัวสกรูบิ่นหรือลื่นจากหัวสกรู ทำให้ผู้ขันได้รับอันตรายได้
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไขควง"