ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูกะปะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8277300 โดย 171.100.76.189ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 50:
==สถานที่พบ==
พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาค[[อินโดจีน]]ไปจนถึง[[แหลมมลายู]] สำหรับใน[[ประเทศไทย]]พบได้ทั่วทุกภาค แต่จะพบมากที่สุดใน[[ภาคใต้]] เป็นงูที่ปรับตัวให้อาศัยอยู่ในพื้น ๆ ที่มีการทำ[[เกษตรกรรม]]ได้ เช่น [[สวน]][[ยางพารา]]หรือสวน[[ปาล์มน้ำมัน]] จึงมักจะมีผู้ถูกกัดอยู่บ่อย ๆ นับเป็นงูพิษที่มีอันตรายต่อมนุษย์มากที่สุดที่พบในประเทศไทย ซึ่งพิษของงูกะปะนั้นมีผลต่อระบบเลือด ทำให้เลือดออกมากผิดปกติ เมื่อถูกกัดภายใน 10 [[นาที]]หลังบริเวณรอบแผลที่ถูกกัดจะบวมขึ้นอย่างรวดเร็วจนกระทั่งแขนหรือขาข้างนั้นบวมไปหมดภายใน 1 ชั่วโมง โดยในรอยเขี้ยวจะมีเลือดไหลตลอดเวลา บริเวณแขนขาที่บวมจะมีสีเขียวคล้ำ ผิวหนังเกิดพองตอนแรกมีน้ำใสต่อมาภายหลังมีเลือด ภายหลังถูกกัดไม่กี่วันรอยเขี้ยวจะเกิดการเน่า ทำให้ผิวหนังมีเลือดออกเป็นรอยคล้ำ เลือดออกทางเดินอาหาร ผู้ที่โดนกัดจะ[[เสียชีวิต]]ได้จาก[[ความดันโลหิตต่ำ ซึ่งความดันโลหิตต่ำ เกิดจากการเสียเลือดนั่นเอง]]<ref>{{cite web|url=http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/snake/malayanbite.htm|title= งูพิษ/งูกะปะ|work=siamhealth}}</ref> โดยคำว่า "กะปะ" เป็น[[ภาษาใต้]] แปลว่า "ปากเหม็น" ซึ่งหมายถึง แผลของผู้ที่ถูกกัดจะเน่าเหม็น จัดเป็น 1 ใน 7 งูพิษที่มีความสำคัญต่อวงการแพทย์และ[[พิษวิทยา]]<ref>จุดประกาย 7 26NOW Feature, ''กะปะ อสรพิษแห่งเมืองตรัง''. '''กรุงเทพธุรกิจ'''ปีที่ 29 ฉบับที่ 10539: วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560</ref>
 
นิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]ของผู้นิยมเลี้ยง[[สัตว์เลื้อยคลาน]] ซึ่งมีราคาซื้อขายที่ไม่แพง
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/งูกะปะ"