ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 562:
 
สถานะปัจจุบันสามารถติดตามได้จากเว็บไซต์ของนาซา (ดูลิงก์ภายนอก)<ref name="voyager" />
[[ไฟล์:Interstellar probes (cropped).jpg|thumb|350x350px|ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' และยานสำรวจอื่นๆ ที่เดินทางไปยังช่องว่างระหว่างดาว ยกเว้นยาน ''[[นิวฮอไรซันส์]]'']]
 
== มวลสารระหว่างดาว ==
[[ไฟล์:Voyager Captures Sounds of Interstellar Space.webm|left|thumb|ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' มีส่งสัญญาณที่สร้างจาก[[พลาสมา (สถานะของสสาร)|คลื่นพลาสมา]]ที่มาจากช่องว่างระหว่างดาว]]
ในขณะที่ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้รับกล่าวถึงอย่างกว้างขวางว่ากำลังจะออกจากระบบสุริยะทันทีที่ออกจากชั้นเฮลิโอพอส แต่โดยทางเทคนิคแล้วกลับไม่เป็นเช่นนั้น เพราะระบบสุริยะถูกนิยามว่าเป็นพื้นที่อันกว้างใหญ่ในอวกาศครอบคลุมเหล่าวัตถุที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ปัจจุบันยานยังโคจรได้น้อยกว่า 1 ใน 7 ของ[[จุดปลายระยะทางวงโคจร]]ของดาว[[90377 เซดนา|เซดนา]] และยังโคจรไม่ถีง[[เมฆออร์ต]] ซึ่งเชื่อว่าเป็นแหล่งต้นกำเนิดของ[[ดาวหาง]] ที่เหล่านักดาราศาสตร์กำหนดว่าเป็นส่วนนอกสุดของระบบสุริยะ<ref name="Ghose2013" /><ref name="How_We_Know">{{cite web|last=Cook|first=J.-R|title=How Do We Know When Voyager Reaches Interstellar Space?|publisher=NASA / Jet Propulsion Lab|date=September 12, 2013|url=https://www.jpl.nasa.gov/news/news.php?release=2013-278|accessdate=September 15, 2013}}</ref>
วันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 2013 องค์การนาซาได้ยืนยันอย่างเป็นทางการว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้เดินทางถึงชั้น[[มวลสารระหว่างดาว]]แล้วตั้งแต่เดือนสิงหาคม ค.ศ. 2012 หลังจากมีการตรวจสอบ และตกลงว่าเกิดขึ้นในวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 2012 (ประมาณ 10 วันก่อนครบรอบ 34 ปีที่ปล่อยยาน) ช่วงเวลาอาจไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับว่ามีการตรวจพบความเปลี่ยนแปลงของอนุภาคมีพลังงานครั้งแรกเมื่อใด<ref name="Cowen2013" /><ref name="Kerr2013" /><ref name="Gurnett2013" /> ตรงจุดนี้บรรดานักวิทยาศาสตร์อวกาศได้ทิ้งสมมติฐานที่ว่าการเปลี่ยนแปลงทิศทางของสนามแม่เหล็กจะเกิดขึ้นพร้อมกับการข้ามผ่านเฮลิโอพอส<ref name="Kerr2013" /> แบบจำลองเฮลิโอพอสแบบใหม่ได้ทำนายว่าอาจไม่พบความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้มากนัก<ref name="Swisdak2013">{{Cite journal|last1=Swisdak|first1=M.|last2=Drake|first2=J. F.|last3=Opher|first3=M.|title=A Porous, Layered Heliopause|doi=10.1088/2041-8205/774/1/L8|journal=The Astrophysical Journal|volume=774|issue=1|pages=L8|year=2013|pmid=|pmc=|arxiv=1307.0850|bibcode=2013ApJ...774L...8S}}</ref>
 
กุญแจสำคัญที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์หลายคนเชื่อว่ายานเคลื่อนที่ผ่านเฮลิโอพอสไปแล้วก็คือการตรวจพบอิเล็กตรอนที่มีความหนาแน่นเพิ่มขึ้นถึง 80 ทบ อ้างอิงจากการแกว่งของพลาสมาที่เริ่มมาตั้งแต่วันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 2013<ref name="Kerr2013" /> ที่เกิดจากการระเบิดบนดวงอาทิตย์ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2012<ref name="Cook2013" /> (คาดว่าความหนาแน่นของอิเล็กตรอนภายนอกเฮลิโอพอสจะมากกว่าภายใน 2 ระดับในแง่ของขนาด)<ref name="Cowen2013" /> การแกว่งที่น้อยกว่านี้ถูกตรวจพบตั้งแต่เดือนตุลาคมถีงพฤศจิกายน ค.ศ. 2012<ref name="How_We_Know2" /><ref name="Morin2013">{{cite news|last=Morin|first=Monte|title=NASA confirms Voyager 1 has left the Solar System|url=http://www.latimes.com/science/sciencenow/la-sci-sn-nasa-confirms-voyager-1-has-exited-the-solar-system-20130912,0,3406650.story|newspaper=Los Angeles Times|date=September 12, 2013}}</ref> ถูกนำมาใช้ประกอบการศึกษาด้วย
== อนาคตของยานสำรวจฯ ==
วอยเอจเจอร์ 1 จะถึง[[เมฆออร์ต]]ในราว 300 ปีข้างหน้า <ref name="jpl.PIA17046">{{cite web |url=http://photojournal.jpl.nasa.gov/catalog/PIA17046 |title=Catalog Page for PIA17046 |work=Photo Journal |publisher=NASA |accessdate=April 27, 2014}}</ref><ref name="ut.104717">{{cite web |url=http://www.universetoday.com/104717/its-official-voyager-1-is-now-in-interstellar-space/ |title=It's Official: Voyager 1 Is Now In Interstellar Space |work=UniverseToday |accessdate=April 27, 2014}}</ref> และใช้เวลาอีกราว 30,000 ปีในการเดินทางผ่าน แม้ว่ายานจะไม่มุ่งหน้าไปยังดาวฤกษ์ใด แต่อีกประมาณ 40,000 ปี ตัวยานจะอยู่ห่างจากดาว Gliese 445 ใน[[กลุ่มดาวยีราฟ]] ในระยะ 1.6 ปีแสง
 
การตรวจวัดพลาสมาต้องอาศัยข้อมูลทางอ้อมจากอุปกรณ์วัดอื่นๆ เนื่องจากเครื่องวัดพลาสมา[[สเปกโตรมิเตอร์]]ของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้หยุดทำงานลงตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980<ref name="Gurnett2013" /> ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2013 นาซาได้เผยแพร่สัญญาณเสียงที่แปลงมาจากคลื่นพลาสมาที่วัดได้ในอวกาศชั้นช่องว่างระหว่างดาว<ref name="space.22777">{{cite web|url=https://www.space.com/22777-voyager-1-records-sounds-from-interstellar-space-video.html|title=Voyage 1 Records "Sounds" of Interstellar Space|publisher=Space.com|accessdate=December 20, 2013}}</ref>
<!-- ใครแปลได้เหมาะสมกว่านี้ รบกวนแปลให้หน่อย-->
 
นาซาได้กล่าวว่า ''วอยเอจเจอร์อาจมีโชคชะตาที่จะเร่ร่อนในทางช้างเผือกตลอดไปจนนิรันดร์" ("The ''Voyagers'' are destined—perhaps eternally—to wander the Milky Way.")<ref>{{cite web |url=http://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html |title=Future |publisher=NASA |accessdate=October 13, 2013 }}</ref>
ในขณะที่ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้รับกล่าวถึงอย่างกว้างขวางว่ากำลังจะออกจากระบบสุริยะทันทีที่ออกจากชั้นเฮลิโอพอส แต่โดยทางเทคนิคแล้วกลับไม่เป็นเช่นนั้น เพราะระบบสุริยะถูกนิยามว่าเป็นพื้นที่อันกว้างใหญ่ในอวกาศครอบคลุมเหล่าวัตถุที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ปัจจุบันยานยังโคจรได้น้อยกว่า 1 ใน 7 ของ[[จุดปลายระยะทางวงโคจร]]ของดาว[[90377 เซดนา|เซดนา]] และยังโคจรไม่ถีง[[เมฆออร์ต]] ซึ่งเชื่อว่าเป็นแหล่งต้นกำเนิดของ[[ดาวหาง]] ที่เหล่านักดาราศาสตร์กำหนดว่าเป็นส่วนนอกสุดของระบบสุริยะ<ref name="Ghose2013" /><ref name="How_We_Know2">{{cite web|last=Cook|first=J.-R|title=How Do We Know When Voyager Reaches Interstellar Space?|publisher=NASA / Jet Propulsion Lab|date=September 12, 2013|url=https://www.jpl.nasa.gov/news/news.php?release=2013-278|accessdate=September 15, 2013}}</ref>
 
== อนาคตของยานสำรวจฯสำรวจ ==
[[ไฟล์:Voyager 1 Radio Signal 21 Feb 2013.jpg|thumb|ภาพของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' จากกล้องโทรทัศน์วิทยุเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2013<ref>{{cite news|url=https://www.nasa.gov/mission_pages/voyager/multimedia/pia17047.html|title=Voyager Signal Spotted By Earth Radio Telescopes|work=NASA|publisher=NASA TV|date=September 5, 2013|accessdate=2015-05-20}}</ref>]]
''วอยเอจเจอร์ 1'' จะเดินทางถึง[[เมฆออร์ต]]ในราว 300 ปีข้างหน้า <ref name="jpl.PIA17046170462">{{cite web |url=httphttps://photojournal.jpl.nasa.gov/catalog/PIA17046 |title=Catalog Page for PIA17046 |work=Photo Journal |publisher=NASA |accessdate=April 27, 2014}}</ref><ref name="ut.1047171047172">{{cite web |url=httphttps://www.universetoday.com/104717/its-official-voyager-1-is-now-in-interstellar-space/ |title=It's Official: Voyager 1 Is Now In Interstellar Space |work=UniverseToday |accessdate=April 27, 2014|date=2013-09-12}}</ref> และใช้เวลาอีกราว 30,000 ปีในการเดินทางผ่าน<ref name="Ghose2013" /><ref name="How_We_Know2" /> แม้ว่ายานจะไม่มุ่งหน้าไปยังดาวฤกษ์ใด แต่อีกประมาณ [[เส้นเวลาของอนาคตไกล#การสำรวจอวกาศและยานอวกาศ|40,000 ปี]] ตัวยานจะอยู่ห่างจากดาว Gliese 445 ซึ่งอยู่ใน[[กลุ่มดาวยีราฟ]] ในระยะราว 1.6 [[ปีแสง]]<ref name="voyager_interstellar">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|title=Voyager – Mission – Interstellar Mission|publisher=NASA|date=August 9, 2010|accessdate=March 17, 2011}}</ref> ดาวดวงนี้เคลื่อนที่มายัง[[ระบบสุริยะ]]ด้วยความเร็วประมาณ 119 กิโลเมตรต่อวินาที<ref name="voyager_interstellar" /> นาซากล่าวไว้ว่า ''วอยเอจเจอร์ทั้งคู่ถูกลิขิตให้เร่ร่อนไปในทางช้างเผือกอาจจะชั่วนิรันดร์" ("The ''Voyagers'' are destined—perhaps eternally—to wander the Milky Way.")<ref>{{cite web |url=http://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html |title=Future |publisher=NASA |accessdate=October 13, 2013 }}</ref>''
 
== แผ่นจานทองคำ ==