ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมีขอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Volunteer09 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการอ้างอิงที่ผิด,แก้ไขข้อมูล
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 12:
| subfamilia = [[Paradoxurinae]]
| genus = '''''Arctictis'''''
| genus_authority = [[Coenraad Jacob Temminck|Temminck]], [[ค.ศ. 1824|1824]]<ref name="itis"/>
| species = '''''A. binturong'''''
| binomial = ''Arctictis binturong''
บรรทัด 38:
มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่[[ภูฐาน]], ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ[[อินเดีย]]น ภาคตะวันตกของ[[พม่า]], [[ไทย]], [[ลาว]], [[กัมพูชา]], พรมแดนระหว่าง[[เวียดนาม]]ติดกับลาและกัมพูชา, [[มาเลเซีย]], [[เกาะสุมาตรา]], [[เกาะบอร์เนียว]]ใน[[อินโดนีเซีย]] และ[[Palawan|เกาะปาลาวัน]]ใน[[ฟิลิปปินส์]]
 
หมีขอเป็นสัตว์หากินในเวลา[[กลางคืน]] อาศัยและหากินตามลำพัง แต่ในบางครั้งอาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ประกอบไปด้วย แม่และลูก ในเวลากลางวันจะอาศัยโพรงไม้เป็นที่หลับนอน อาหารได้แก่ [[ผลไม้]]และ[[สัตว์]]ที่มีขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ บนต้นไม้ทั้ง[[แมลง]]และ[[สัตว์เลื้อยคลาน]] ปีนต้นไม้ได้เก่งมาก โดยใช้หางที่ยาวเกาะเกี่ยวกิ่งไม้จากต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่ง นอกจากนี้ยังสามารถ[[ว่ายน้ำ]]ได้อีกด้วย มีการผสมพันธุ์กันได้ตลอดทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องนาน 92 วัน ออกลูกครั้งละ 1–5003 ตัว หมีขอตัวเมียจะมีเต้านมทั้งหมด 102 คู่ ลูกที่เกิดใหม่จะยังไม่สามารถขาและใช้หางเกี่ยวกิ่งไม้ได้ชำนาญเหมือนตัวพ่อแม่ <ref>หน้า 87-88 ''สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน''. 256 หน้า โดย กองทุนสัตว์ป่าโลก สำนักงานประเทศไทย (กรุงเทพมหานคร, 2543) ISBN 974-87081-5-2</ref>
 
หมีขอเป็นสัตว์ที่เลี้ยงตั้งแต่เล็กแล้วจะเชื่อง<ref name="สัตว์"/> จนสามารถนำมาฝึกให้แสดงโชว์ต่าง ๆ ได้ตาม[[สวนสัตว์]] สถานะปัจจุบันเป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]]ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535|พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535]]<ref>[http://www.skn.ac.th/skl/project/reserve/rwa10.htm หมีขอ]</ref>
 
==ศัพทมูลวิทยา==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/หมีขอ"