ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 510:
{{center|{{commons-inline|bullet=none|Category:Photos of Saturn system by Voyager 1|the ''Voyager 1'' Saturn encounter}}}}
 
== การโคจรออกจากเฮลิโอสเฟียร์ (Heliosphere) ==
[[File:Family_portrait_(Voyager_1).png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Family_portrait_(Voyager_1).png|alt=A set of grey squares trace roughly left to right. A few are labeled with single letters associated with a nearby colored square. J is near to a square labeled Jupiter; E to Earth; V to Venus; S to Saturn; U to Uranus; N to Neptune. A small spot appears at the center of each colored square|thumb|400x400px|ภาพ[[ครอบครัวสุริยะ]]ที่ได้จากยานสำรวจ ''วอยเอเจอร์ 1'']][[File:Voyager_1_-_14_February_1990.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager_1_-_14_February_1990.png|thumb|ตำแหน่งของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เหนือระนาบสุริยะวิถีเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990]]ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ทำการถ่าย[[ภาพครอบครัวสุริยะ]] (family portrait) จากมุมมองนอกระบบสุริยะได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์<ref name="nasa.family">{{cite web|url=https://nssdc.gsfc.nasa.gov/photo_gallery/caption/solar_family.txt|title=Photo Caption|publisher=Public Information Office|accessdate=August 26, 2010}}</ref> ซึ่งรวมถึงภาพถ่ายของโลกที่รู้จักกันในชื่อ[[เพลบลูดอต]] (Pale Blue Dot) ก่อนที่จะทำการปิดการทำงานของอุปกรณ์กล้องถ่ายภาพเพื่อสงวนพลังงานสำหรับระบบอื่นในยานหลังจากนั้น เนื่องจากซอฟต์แวร์ของระบบกล้องถ่ายภาพทั้งหมดได้ถูกลบออกหมดแล้ว จึงเป็นการยากที่จะเปิดระบบนี้ขึ้นมาใช้งานอีกครั้ง นอกจากนี้ยังไม่มีซอฟต์แวร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายจากยานบนโลกอีกแล้วเช่นกัน<ref name="faq3" />
 
บรรทัด 517:
ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้เดินทางเข้าสู่ช่องว่างระหว่างดวงดาว (interstellar space) มีการใช้อุปกรณ์ตรวจวัดเพื่อทำการศึกษาระบบสุริยะอย่างต่อเนื่อง นักวิทยาศาสตร์ของศูนย์ปฏิบัติการเครื่องยนต์ไอพ่น (JPL) ได้เปิดใช้งานอุปกรณ์ปล่อยคลื่นพลาสมาที่ติดตั้งอยู่บนทั้งยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' และ ''2'' เพื่อทำการศึกษาเฮลิโอพอส (heliopause) ซึ่งเป็นแนวเขตที่[[ลมสุริยะ]] (solar wind) ได้ถูกหยุดลงเพราะเป็นบริเวณแรงดันของ[[มวลสารระหว่างดาว]] (interstellar medium) กับลมสุริยะเข้าสู่สมดุลกัน<ref name="nasa.int">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|publisher=JPL|title=Voyager 1 in heliopause|accessdate=August 18, 2013}}</ref> ในปี ค.ศ. 2013 ยานสำรวจโคจรด้วยความเร็วสัมพัทธ์กับดวงอาทิตย์ประมาณ 17,030 เมตรต่อวินาที (55,900 ฟุตต่อวินาที)<ref name="nasa.201309062">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/weekly-reports/|title=Voyager Mission Operations Status Report # 2013-09-06, Week Ending September 6, 2013|publisher=JPL|accessdate=September 15, 2013}}</ref> และในปัจจุบันยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' โคจรโดยคงความเร็วคงที่ 325 ล้านไมล์ (523×10<sup>6</sup> กิโลเมตร) ต่อปี<ref>{{cite news|last=Wall|first=Mike|url=https://www.space.com/22729-voyager-1-spacecraft-interstellar-space.html|title=It's Official! Voyager 1 Spacecraft Has Left Solar System|work=Space.com|date=September 12, 2013|accessdate=May 30, 2014}}</ref> หรือประมาณ 1 [[ปีแสง]] (light-year) ใน 18,000 ปี
 
=== กำแพงกระแทก (Termination Shock) ===
[[File:Voyager_speed_and_distance_from_Sun.svg|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager_speed_and_distance_from_Sun.svg|right|thumb|ความเร็วของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' และ ''2'' และระยะห่างจากดวงอาทิตย์]]
เหล่านักวิทยาศาสตร์จากห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์ของ[[มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์]] (Johns Hopkins University) เชื่อว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้เดินทางเข้าสู่ชั้น[[กำแพงกระแทก]] (termination shock) ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003<ref name="cnn.20031105">{{cite news|url=http://edition.cnn.com/2003/TECH/space/11/05/voyager.solar.boundary/|title=Spacecraft reaches edge of Solar System|first=Kate|last=Tobin|publisher=CNN|date=November 5, 2003|accessdate=August 19, 2013}}</ref> บริเวณนี้เป็นจุดที่ลมสุริยะชะลอความเร็วลงจนช้ากว่าความเร็วของเสียง (subsonic speed) หรือต่ำกว่า 100 กิโลเมตรต่อวินาที แต่ก็ยังมีข้อโต้แย้งกันในหมู่นักวิทยาศาสตร์กลุ่มอื่นๆ มีการถกประเด็นนี้ในวารสารวิชาการเนเจอร์ (Nature) ฉบับวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 2003<ref name="n.426021">{{cite journal|doi=10.1038/426021a|title=Planetary Science: Over the edge?|date=2003|last=Fisk|first=Len A.|journal=Nature|volume=426|issue=6962|pages=21–2|pmid=14603294|bibcode=2003Natur.426...21F|url=https://deepblue.lib.umich.edu/bitstream/2027.42/62712/1/426021a.pdf}}</ref> โดยประเด็นนี้จะยังคงต้องถกเถียงดันต่อไปจนกว่าจะมีข้อมูลใหม่ที่สามารถมายืนยันได้ อีกทั้งอุปกรณ์ตรวจจับลมสุริยะที่ติดตั้งไว้บนยานได้หยุดการทำงานไปตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 ทำให้การตรวจหาชั้นกำแพงกระแทกทำได้โดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากอุปกรณ์ตัวอื่นแทน<ref name="n.02068">{{cite journal|doi=10.1038/nature02068|title=Voyager 1 exited the solar wind at a distance of ∼85 au from the Sun|date=2003|last=Krimigis|first=S. M.|last2=Decker|first2=R. B.|last3=Hill|first3=M. E.|last4=Armstrong|first4=T. P.|last5=Gloeckler|first5=G.|last6=Hamilton|first6=D. C.|last7=Lanzerotti|first7=L. J.|last8=Roelof|first8=E. C.|journal=Nature|volume=426|issue=6962|pages=45–8|pmid=14603311|bibcode=2003Natur.426...45K}}</ref><ref name="n.02066">{{cite journal|doi=10.1038/nature02066|title=Enhancements of energetic particles near the heliospheric termination shock|date=2003|last=McDonald|first=Frank B.|last2=Stone|first2=Edward C.|last3=Cummings|first3=Alan C.|last4=Heikkila|first4=Bryant|last5=Lal|first5=Nand|last6=Webber|first6=William R.|journal=Nature|volume=426|issue=6962|pages=48–51|pmid=14603312|bibcode=2003Natur.426...48M}}</ref><ref name="grl.018291">{{cite journal|doi=10.1029/2003GL018291|title=Search for the heliosheath with Voyager 1 magnetic field measurements|date=2003|last=Burlaga|first=L. F.|journal=Geophysical Research Letters|volume=30|issue=20|pages=n/a|bibcode=2003GeoRL..30.2072B|url=https://authors.library.caltech.edu/55625/1/2003-46.pdf}}</ref>[[File:Pale_Blue_Dot.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Pale_Blue_Dot.png|left|thumb|271x271px|ภาพ[[เพลบลูดอต]]เผยให้เห็นตำแหน่งของโลกจากระยะ 6 พันล้านกิโลเมตร (จุดเล็กสีฟ้าอ่อนประมาณกึ่งกลางของแถบสีน้ำตาลทางด้านขวา) ท่ามกลางความมืดมิดของห้วงอวกาศ]]ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2005 ทางนาซาได้เผยแพร่บทความสรุปผลว่ายานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้โคจรเข้าสู่ห้วงอวกาศบริเวณที่เรียกว่า[[เฮลิโอชีท]] (heliosheath) โดยในงานประชุมทางวิทยาศาสตร์ที่จัดขึ้นที่[[สหภาพธรณีวิทยาอเมริกา]] (American Geophysical Union: AGU) เมือง[[นิวออร์ลีนส์]] วันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 2005 ทาง ดร.เอ็ด สโตน ([[:en:Edward_C._Stone|Dr. Ed Stone]]) ได้เสนอหลักฐานที่ยืนยันได้ว่ายานเดินทางผ่านชั้นกำแพงกระแทกในช่วงปลายปี ค.ศ. 2004<ref name="cross">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|title=Voyager crosses termination shock|accessdate=August 29, 2013}}</ref> ซึ่งคาดว่าเกิดขึ้นในวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2004 ที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 94 หน่วยดาราศาสตร์<ref name="cross2">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|title=Voyager crosses termination shock|accessdate=August 29, 2013}}</ref><ref name="nasa.timeline">{{cite web|title=Voyager Timeline|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/timeline.html|publisher=NASA/JPL|date=February 2013|accessdate=December 2, 2013}}</ref>
 
=== เฮลิโอชีท (Heliosheath) ===
[[File:Voyager_Path.svg|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager_Path.svg|thumb|200x200px|การบินเฉียดดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ 4 ดวงเพื่อใช้ในการเคลื่อนที่แบบเหวี่ยงโดยอาศัยแรงโน้มถ่วง ([[:en:Gravity_assist|gravity assists]]) ของยาน ''วอยเอจเจอร์'' ทั้งสองลำ]]
ในวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 2006 กลุ่ม[[นักวิทยุสมัครเล่น]]จากองค์กร[[กิจการดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น]] หรือ [[:en:AMSAT|AMSAT]] ในประเทศเยอรมนี ได้รับสัญญาณคลื่นวิทยุจากยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ผ่านจานดาวเทียมขนาด 20 เมตร (66 ฟุต) ที่เมือง[[โบคุม]] สัญญาณที่พบได้รับการตรวจสอบและยืนยันแล้วโดยเทียบกับสัญญาณที่ได้จากเครือข่ายสื่อสารอวกาศห้วงลึก (DSN) ที่้เมืองมาดริด ประเทศสเปน<ref name="ham">{{cite web|url=http://amsat-dl.org/cms/index.php?option=com_content&task=view&id=62&Itemid=97|publisher=AMSAT-DL|language=German|title=ARRL article|deadurl=yes|archivedate=October 14, 2006|archiveurl=https://web.archive.org/web/20061014165205/http://www.amsat-dl.org/cms/index.php?option=com_content&task=view&id=62&Itemid=97}} {{cite web|url=http://www.mail-archive.com/medianews@twiar.org/msg09959.html|title=ARRL article}}</ref> ถือได้ว่าเป็นกลุ่มนักวิทยุสมัครเล่นกลุ่มแรกที่สามารถติดตามสัญญาณของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้<ref name="ham" />
บรรทัด 535:
องค์การนาซาได้ลงประกาศในวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 2011 ว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้โคจรเข้าสู่อวกาศพื้นที่ใหม่ที่เรียกว่า "cosmic purgatory" ซึ่งเป็นชื่อเรียกพื้นที่สแตกเนชัน (stagnation) กล่าวคือ ภายในพื้นที่นี้อนุภาคมีประจุที่ปลดปล่อยออกมาจากดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ช้าลงและเริ่มเคลื่อนที่ย้อนกลับ และด้วยสนามแม่เหล็กของระบบสุริยะที่มากกว่าสนามแม่เหล็กของช่องว่างระหว่างดวงดาว (interstellar space) ถึงสองเท่านั้นได้ก่อให้เกิดเป็นแรงดันขึ้น อนุภาคมีพลังงานที่มีจุดกำเนิดมาจากระบบสุริยะจะลดลงเกือบกึ่งหนึ่ง ขณะที่มีการตรวจพบอิเล็กตรอนพลังงานสูงจากบริเวณภายนอกมากถึง 100 ทบ เส้นขอบส่วนในของพื้นที่สแตกเนชันนี้อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 113 หน่วยดาราศาสตร์<ref name="cnn.20111206">{{cite news|url=http://lightyears.blogs.cnn.com/2011/12/06/spacecraft-enters-cosmic-purgatory/|title=Spacecraft enters 'cosmic purgatory'|date=December 6, 2011|accessdate=December 7, 2011|work=CNN}}</ref>
 
=== เฮลิโอพอส (H'''eliopause''') ===
{{Multiple image
|align=right
|direction=vertical
| width = 218
| image1 = Cosmic Rays at Voyager 1.png
| caption1 = กราฟแสดงอัตราการตรวจพบอนุภาคของ[[รังสีคอสมิก]]ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดจากยานวอยเอจเจอร์ 1 (ตุลาคม 2011 ถึง ตุลาคม 2012)
| image2 = Solar wind at Voyager 1.png
| caption2 = กราฟแสดงอัตราการตรวจพบอนุภาคของ[[ลมสุริยะ]]ที่ลดลงอย่างรวดจากยานวอยเอจเจอร์ 1 (ตุลาคม 2011 ถึง ตุลาคม 2012)
}}
นาซาได้ลงประกาศในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2012 ว่ายานสำรวจได้ตรวจพบความเปลี่ยนแปลงบริเวณโดยรอบยานที่คาดว่าน่าจะบ่งบอกการมาถึงของ[[เฮลิโอพอส]]<ref name="space.16167">{{cite web|url=https://www.space.com/16167-voyager1-spacecraft-interstellar-space.html|title=NASA Voyager 1 Spacecraft Nears Interstellar Space|publisher=Space.com|accessdate=August 19, 2013}}</ref> ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้รายงานว่ามีการเพิ่มขึ้นของอนุภาคมีประจุจากอวกาศชั้นช่องว่างระหว่างดวงดาว (interstellar space) ซึ่งปกติจะมีการหักเหเนื่องจากอิทธิพลของลมสุริยะภายในชั้น[[เฮลิโอสเฟียร์]]ที่มาจากดวงอาทิตย์ นั่นหมายความว่ายานได้เริ่มโคจรเข้าสู่ชั้นสสารระหว่างดวงดาว (interstellar medium) ซึ่งสุดขอบของระบบสุริยะแล้ว<ref name="nasa.20120614">{{cite web|url=https://www.nasa.gov/mission_pages/voyager/voyager20120614.html|title=Data From NASA's Voyager 1 Point to Interstellar Future|publisher=[[NASA]]|date=June 14, 2012|accessdate=June 16, 2012}}</ref>