ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 54:
แทบทุกส่วนของตัวยานสำรวจทำงานโดยอัตโนมัติผ่านการควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ยกเว้นระบบถ่ายภาพแสงที่มองเห็นได้ (visible light) ซึ่งเป็นเพียงระบบเดียวที่ไม่ได้ทำงานแบบอัตโนมัติ แต่จะถูกควบคุมโดยชุดค่าพารามิเตอร์ในระบบย่อยข้อมูลการบิน (Flight Data Subsystem: FDS) ต่างจากกล้องถ่ายภาพในยานสำรวจยุคหลังจากปี ค.ศ. 1990 ที่เปลี่ยนมาใช้ระบบควบคุมแบบอัตโนมัติทั้งหมดแล้ว<ref>{{cite web|url=https://pds-rings.seti.org/voyager/iss/inst_cat_wa1.html|title=pds-rings|accessdate=May 23, 2015}}</ref>
 
ระบบย่อยคอมพิวเตอร์สั่งการ (Computer Command Subsystem: CCS) ประกอบไปด้วยชุดคำสั่งแบบสำเร็จ เช่น ชุดคำสั่งถอดรหัส ชุดคำสั่งตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่อง ชุดคำสั่งควบคุมทิศทางของเสาอากาศ และชุดคำสั่งควบคุมตำแหน่งยาน คอมพิวเตอร์ส่วนนี้เป็นส่วนที่พัฒนามาจากคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในยานโครงการไวกิ้ง (Viking Program) ช่วงยุค ค.ศ. 1970 ฮาร์ดแวร์แบบปรับแต่งเอง (custom-built) ที่ใช้สำหรับระบบย่อยคอมพิวเตอร์สั่งการของยานสำรวจทั้งสองลำในโครงการ ''โวเอจเจอร์'' จะเหมือนทุกประการ มีเพียงการปรับแต่งโปรแกรมเล็กน้อยเพราะมีระบบย่อยทางวิทยาศาสตร์ที่ยานอีกลำไม่มี<ref name="nasa.ch6-2">{{cite web|last=Tomayko|first=James|publisher=NASA|date=April 1987|url=https://history.nasa.gov/computers/Ch6-2.html|title=Computers in Spaceflight: The NASA Experience|accessdate=February 6, 2010}}</ref> ฮาร์ดแวร์แบบปรับแต่งเอง (custom-built) ที่ใช้สำหรับระบบย่อยคอมพิวเตอร์สั่งการของยานสำรวจทั้งสองลำในโครงการ ''โวเอจเจอร์'' จะเหมือนทุกประการ
 
ระบบย่อยควบคุมตำแหน่งและเส้นทางโคจร (Attitude and Articulation Control Subsystem: AACS) เป็นระบบที่ใช้ในการควบคุมตำแหน่งและทิศทางของตัวยาน คอยควบคุมองศาของเสาอากาศยานให้ชี้มายังโลก ควบคุมการเปลี่ยนตำแหน่ง และบังคับทิศทางของยานเพื่อทำการถ่ายภาพวัตถุและพื้นผิว ระบบย่อยนี้สำหรับยานสำรวจในโครงการ ''โวเอจเจอร์'' จะเหมือนทุกประการ<ref>{{cite web|url=http://www.au.af.mil/au/awc/awcgate/jplbasic/bsf11-2.htm|title=au.af|accessdate=May 23, 2015}}</ref><ref>{{cite web|url=https://airandspace.si.edu/collections/artifact.cfm?object=nasm_A19990066000|title=airandspace|accessdate=May 23, 2015}}</ref>
บรรทัด 516:
ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' โคจรที่ระยะห่าง 69 [[หน่วยดาราศาสตร์]]จากดวงอาทิตย์ ซึ่งมากกว่าระยะที่ยาน[[ไพโอเนียร์ 10]] ที่เคยเป็นยานอวกาศที่โคจรห่างจากโลกมากที่สุด<ref name="cnn.9802">{{cite news|title=Voyager 1 now most distant man-made object in space|url=http://edition.cnn.com/TECH/space/9802/17/nasa.distant.objects/|publisher=CNN|accessdate=July 1, 2012|archiveurl=https://www.webcitation.org/68pdJn9M5?url=http://edition.cnn.com/TECH/space/9802/17/nasa.distant.objects/|archivedate=July 1, 2012|date=February 17, 1998|deadurl=yes|df=mdy-all}}</ref><ref name="g.2013sep13">{{cite news|last=Clark|first=Stuart|title=Voyager 1 leaving solar system matches feats of great human explorers|url=https://www.theguardian.com/science/across-the-universe/2013/sep/13/voyager-1-solar-system-great-explorers|newspaper=The Guardian|date=September 13, 2013}}</ref>[[File:Voyager_1_-_14_February_1990.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager_1_-_14_February_1990.png|thumb|ตำแหน่งของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เหนือระนาบสุริยะวิถีเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990]]นอกจากนี้ยานยังเดินทางด้วยความเร็วประมาณ 17 กิโลเมตรต่อวินาที (11 ไมล์ต่อวินาที)<ref name="goo.50">{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=-vZ0BVSHix4C&pg=PA62|title=If the Universe is Teeming with Aliens … WHERE IS EVERYBODY?: Fifty Solutions to the Fermi Paradox and the Problem of Extraterrestrial Life|isbn=978-0-387-95501-8|last=Webb|first=Stephen|date=October 4, 2002}}</ref> ซึ่งเป็นความเร็วถอยห่าง (recession speed) จากดวงอาทิตย์ที่มากที่สุดเมื่อเทียบกับยานอวกาศทุกลำ<ref name="dd.fast">{{cite web|url=http://www.daviddarling.info/encyclopedia/F/fastest_spacecraft.html|title=Fastest Spacecraft|first=David|last=Darling|accessdate=August 19, 2013}}</ref>
 
ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้เดินทางเข้าสู่อวกาศชั้นมวลสารระหว่างดวงดาว (interstellar space) มีการใช้อุปกรณ์ตรวจวัดทำการศึกษาระบบสุริยะอย่างต่อเนื่อง นักวิทยาศาสตร์ของศูนย์ปฏิบัติการเครื่องยนต์ไอพ่น (JPL) ได้เปิดใช้งานอุปกรณ์ปล่อยคลื่นพลาสมาที่ติดตั้งอยู่บนทั้งยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' และ ''2'' เพื่อทำการศึกษาเฮลิโอพอส (heliopause) ซึ่งเป็นแนวเขตที่[[ลมสุริยะ]] (solar wind) ได้ถูกหยุดลงเพราะเป็นบริเวณแรงดันของ[[มวลสารระหว่างดาว]] (interstellar medium) กับลมสุริยะเข้าสู่สมดุลกัน ในปี ค.ศ. 2013 ยานสำรวจโคจรด้วยความเร็วสัมพัทธ์กับดวงอาทิตย์ประมาณ 17,030 เมตรต่อวินาที (55,900 ฟุตต่อวินาที) และในปัจจุบันยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' โคจรโดยคงความเร็วคงที่ 325 ล้านไมล์ (523×10<sup>6</sup> กิโลเมตร) ต่อปี<ref>{{cite news|last=Wall|first=Mike|url=https://www.space.com/22729-voyager-1-spacecraft-interstellar-space.html|title=It's Official! Voyager 1 Spacecraft Has Left Solar System|work=Space.com|date=September 12, 2013|accessdate=May 30, 2014}}</ref> หรือประมาณ 1 [[ปีแสง]] (light-year) ใน 18,000 ปี
 
=== กำแพงกระแทก ===