ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
| distance = {{convert|6490|km|mi|abbr=on}}
| arrival_date = 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980
}}|programme=ยานสำรวจอวกาศที่สำคัญ|previous_mission=''[[วอยเอจเจอร์ 2]]''|next_mission=''[[กาลิเลโอ (ยานอวกาศ)|กาลิเลโอ]]''}}'''''วอยเอจเจอร์ 1''''' ({{lang-en|''Voyager 1''}}) เป็นยานสำรวจอวกาศแบบไร้คนขับซึ่งองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ[[สหรัฐ]]หรือองค์การ[[นาซา]] (The National Aeronautics and Space Administration : NASA) ของสหรัฐอเมริกาได้ทำการปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1977 ซึ่งเป็นเวลา 16 วันหลังการปล่อยยานแฝดฝาแฝด ''[[วอยเอจเจอร์ 2]]'' ({{lang-en|''Voyager 2''}}) ภายใต้[[โครงการวอยเอจเจอร์]] เพื่อศึกษาและสำรวจดาวเคราะห์ชั้นนอกของระบบสุริยะ ปัจจุบันยานสำรวจปฎิบัติงานอยู่ในอวกาศเป็นเวลานานถึง {{Age in years, months and days|year=1977|month=09|day=05}} ซึ่งยังคงสื่อสารกับ[[โลก]]ผ่านทาง[[เครือข่ายอวกาศห้วงลึก|เครือข่ายสื่อสารอวกาศห้วงลึก]] (Deep Space Network หรือ: DSN) เพื่อรับคำสั่งประจำและส่งข้อมูลกลับโลกมา ด้วยระยะห่างของยานสำรวจที่อยู่ห่างจากโลกราว 145 [[หน่วยดาราศาสตร์]] (21.7 พันล้านกิโลเมตร;, 13.5 พันล้านไมล์) เมื่อวันที่ 223 กุมภาพันธ์มิถุนายน ค.ศ. 2019<ref name="voyager3">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/status/|title=Voyager - Mission Status|last=|first=|date=|work=[[Jet Propulsion Laboratory]]|publisher=[[National Aeronautics and Space Administration]]|archive-url=|archive-date=|dead-url=|accessdate=February 16, 2019}}</ref> จึงถือได้ว่าเป็นวัตถุที่สร้างโดยมนุษย์ที่อยู่ไกลจาก[[โลก]]มากที่สุด<ref>{{cite web|url=http://www.bbc.co.uk/science/space/solarsystem/space_missions/voyager_1|title=Voyager 1|work=[[BBC]] Solar System|accessdate=4 September 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180203195855/http://www.bbc.co.uk/science/space/solarsystem/space_missions/voyager_1|archive-date=February 3, 2018|dead-url=yes|df=mdy-all}}</ref>
 
ภารกิจของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' คือการบินเฉียด (flyby) [[ดาวพฤหัสบดี]] [[ดาวเสาร์]] และ[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ดวงจันทร์ไททัน]]ซึ่งเป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ นอกจากนี้ในแผนเดิมทีแล้วมีการวางเส้นทางโคจรของยานเพื่อบินเฉียด[[ดาวพลูโต]]โดยการไม่บินเฉียดดวงจันทร์ไททัน แต่ได้ภายหลังมีการเปลี่ยนมาเป็นการบินเฉียดดวงจันทร์ไททันแทน เนื่องจากต้องการศึกษาชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น ซึ่งเป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์มากในขณะนั้น<ref name="faq23">{{cite web|url=https://www.jpl.nasa.gov/voyager/frequently-asked-questions/|title=Voyager – Frequently Asked Questions|publisher=NASA|date=February 14, 1990|accessdate=August 4, 2017}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.nasaspaceflight.com/2015/07/new-horizons-pluto-historic-kuiper-encounter/|title=New Horizons conducts flyby of Pluto in historic Kuiper Belt encounter|accessdate=September 2, 2015}}</ref><ref name="SD23">{{cite web|url=http://www.spacedaily.com/reports/What_If_Voyager_Had_Explored_Pluto_999.html|title=What If Voyager Had Explored Pluto?|accessdate=September 2, 2015}}</ref> ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ทำการสำรวจสภาพอากาศ สภาพสนามแม่เหล็ก และวงแหวนของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ นอกจากนี้ยังเป็นยานสำรวจลำแรกที่ได้ถ่ายภาพเผยรายละเอียดดาวบริวารของดาวฤกษ์เหล่านี้อีกด้วย
 
ภายหลังเสร็จสิ้นภารกิจหลักในการบินเฉียดดาวเสาร์เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980 ''วอยเอจเจอร์ 1'' ถือเป็นวัตถุสร้างโดยมนุษย์ชิ้นที่ 3 ที่สามารถโคจรด้วยความเร็วมากพอจนถึงระดับ[[ความเร็วหลุดพ้น]]จากอิทธิพลของ[[ระบบสุริยะ]] นอกจากนี้ในวันที่ 25 สิงหาคม ปีเดียวกันค.ศ. ยาน2012 ''วอยเอจเจอร์ 1'' กลายเป็นยานอวกาศลำแรกที่ได้ข้ามผ่านอวกาศชั้น[[เฮลิโอพอส]] (heliopause) และได้เข้าสู่อวกาศชั้น[[มวลสารระหว่างดาว]] (Interstellar Medium)<ref name="NYT-20130912220130912">{{cite news|last=Barnes|first=Brooks|title=In a Breathtaking First, NASA Craft Exits the Solar System|url=https://www.nytimes.com/2013/09/13/science/in-a-breathtaking-first-nasa-craft-exits-the-solar-system.html|date=September 12, 2013|work=[[New York Times]]|accessdate=September 12, 2013}}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 2017 ทีมงานของวอยเอจเจอร์ประสบความสำเร็จในการทดลองจุดชุดเครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้ในการควบคุมการเคลื่อนที่แบบวิถีโค้งแนวโคจร (Trajectory Correction Maneuver หรือ: TCM) ซึ่งไม่มีการใช้งานมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 ส่งผลให้สามารถขยายเวลาทำภารกิจของยานไปได้อีกสองถึงสามปี<ref name="Backup thrusters test2">{{cite news|last=Wall|first=Mike|title=Voyager 1 Just Fired Up its Backup Thrusters for the 1st Time in 37 Years|url=https://www.space.com/38967-voyager-1-fires-backup-thrusters-after-37-years.html|accessdate=December 3, 2017|publisher=Space.com|date=December 1, 2017}}</ref>
 
มีการคาดการณ์ประมาณการว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' จะยังสามารถทำภารกิจต่อไปได้จนถึงปี ค.ศ. 2025 หรือจนกว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี (Radioisotope Thermoelectric Generator หรือ: RTG) จะจ่ายไฟได้ไม่เพียงพอความต้องการของอุปกรณ์ภายในยาน หลังจากนั้นยานจะโคจรเป็นวัตถุเร่ร่อนในอวกาศ
 
== เบื้องหลังภารกิจ ==