ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกซ์บอกซ์ (เครื่องเล่นวิดีโอเกม)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35:
เอกซ์บอกซ์เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2543 ในงาน [[Game Developers Conference]]<ref>{{cite web |url=http://www.microsoft.com/en-us/news/features/2000/03-10xbox.aspx |title=Xbox Brings "Future-Generation" Games to Life |publisher=[[Microsoft]] |date=March 10, 2000 |accessdate=August 12, 2013}}</ref> ผู้เข้าชมต่างประทับใจในเทคโนโลยีของมัน โดย ณ ช่วงเวลาที่บิล เกตส์ทำการประกาศเอกซ์บอกซ์ สถานการณ์ยอดขายของเซก้า ดรีมแคสต์กำลังลดลงและโซนี เพลย์สเตชัน 2 กำลังวางขายในประเทศญี่ปุ่น<ref name="xboxtimeline1">{{cite web|first=Steven L. |last=Kent |url=http://archive.gamespy.com/articles/january04/Xboxtimeline/ |title=Xbox Timeline |publisher=GameSpy.com |date=February 16, 2004 |accessdate=May 3, 2009 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20090425202720/http://archive.gamespy.com/articles/january04/Xboxtimeline/ |archivedate=April 25, 2009 }}</ref> ทั้งนี้เกตส์ได้พูดคุยกับประธานของเซก้า [[Isao Okawa]] เกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการให้เอกซ์บอกซ์สามารถเข้ากันได้กับเกมของดรีมแคสต์ แต่การเจรจาล้มเหลวหลังการเจรจาถึงความเป็นไปได้ว่าจะใช้บริการเซก้าเน็ตในการออนไลน์หรือไม่<ref>{{cite web|url=http://kotaku.com/5447897/how-xbox-could-have-helped-the-dreamcast-survive|title=How Xbox Could Have Helped The Dreamcast Survive|first=Brian|last=Ashcraft|publisher=|accessdate=December 30, 2016}}</ref>
 
ตัวเครื่องเอกซ์บอกซ์เปิดตัวสู่สาธารณะชนโดยเกตส์และนักมวยปล้ำอาชีพ [[ดเวย์น จอห์นสัน|เดอะ ร็อก]] ที่งาน [[Consumer Electronics Show|CES]] 2001 ในลาสเวกัสเมื่อ 3 มกราคม 2544<ref>{{cite web |url=http://news.cnet.com/2100-1040-250632.html |title=Microsoft got game: Xbox unveiled |publisher=[[CBS Interactive]] |work=CNET News |date= January 6, 2001 |accessdate=August 12, 2013 |first=David |last=Becker}}</ref> ถัดมาในเดือนพฤษภาคม ณ งาน E3 2001 ไมโครซอฟท์เปิดเผยวันวางจำหน่ายและราคา<ref>{{cite web |url=http://uk.gamespot.com/news/e3-2001-microsoft-delivers-xbox-launch-details-2761182 |archive-url=https://archive.is/20130628041548/http://uk.gamespot.com/news/e3-2001-microsoft-delivers-xbox-launch-details-2761182 |dead-url=yes |archive-date=June 28, 2013 |title=E3 2001: Microsoft delivers Xbox launch details |publisher=[[CBS Interactive]] |work=GameSpot.com |date=May 16, 2001 |accessdate=August 12, 2013 |author=Lauren Fielder, Shane Satterfield }}</ref> โดยเกมที่วางจำหน่ายพร้อมเครื่องส่วนใหญ่ก็ประกาศภายในงานนี้ ที่เป็นที่รู้จักกันดีได้แก่ ''[[เฮโล: คอมแบท อีโวลด์ทอิวอลฟด์]]'' และ ''[[เดด ออร์ อะไลฟ์ดออร์อะไลฟ์ 3]]''
 
และเนื่องจากความนิยมอันมหาศาลของเครื่องเล่นวิดีโอเกมในประเทศญี่ปุ่น ไมโครซอฟท์จึงชะลอการเปิดตัวเอกซ์บอกซ์ในทวีปยุโรปก่อน เพื่อมุ่งเน้นการทำตลาดไปยังตลาดเครื่องเล่นเกมในญี่ปุ่นก่อน ซึ่งแม้ว่าการเปิดตัวในยุโรปจะล้าช้า ก็ได้รับการพิสูจน์ทางยอดขายแล้วว่าประสบความสำเร็จมากกว่าการจัดจำหน่ายเครื่องเอกซ์บอกซ์ในประเทศญี่ปุ่น
 
กลยุทธ์ของไมโครซอฟท์เพื่อจัดจำหน่ายเอกซ์บอกซ์มีประสิทธิภาพอย่างมาก อย่างเช่นในการเตรียมการสำหรับจัดจำหน่าย ไมโครซอฟท์เข้าซื้อ[[บันจี]]และใช้เกม ''เฮโล: คอมแบท อีโวลด์ทอิวอลฟด์'' เป็นเกมวางจำหน่ายพร้อมเครื่อง เนื่องจากในเวลานั้นวิดีโอเกมชุด ''[[โกลเด้นอาย 007 (วิดีโอเกม พ.ศ. 2540)|โกลเด้นอาย 007]]'' สำหรับ [[นินเทนโด 64]] เป็นหนึ่งในเกมแนวมุมมองบุคคลที่หนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในระดับทั่วไปที่ปรากฏในเครื่องเล่นวิดีโอเกมเช่นเดียวกับเกม ''เพอร์เฟค ดาร์ก'' และ ''[[เมดัลออฟออเนอร์]]'' โดย ''เฮโล: คอมแบทอิวอลฟด์'' กลายเป็นวิดีโอเกมที่เป็นปัจจัยสำคัญให้เอกซ์บอกซ์ขายได้ดี<ref name="xboxtimeline1" /> และส่งผลให้ในปี 2545 ไมโครซอฟท์ได้ก้าวสู่การเป็นผู้ผลิตเครื่องเล่นเกมอันดับสองในตลาดอเมริกาเหนือ นอกจากนี้บริการเอกซ์บอกซ์ ไลฟ์ยังทำให้ไมโครซอฟท์สามารถตั้งหลักในการเล่นเกมออนไลน์และช่วยให้เอกซ์บอกซ์กลายเป็นคู่แข่งกับเครื่องเล่นวิดีโอเกมยุคที่หกเครื่องอื่น ๆ ได้
 
=== การโปรโมท ===