ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Internet of things signed by the author.jpg|thumb|right|200px|"อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง" เชื่อมต่ออุปกรณ์และพาหนะด้วยเซ็นเซอร์อิเล็กทรอนิกส์และอินเทอร์เน็ต]]
 
'''อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง''' ({{lang-en|Internet of Things}}) หรือ '''ไอโอที''' (IoT) หมายถึงเครือข่ายของวัตถุ อุปกรณ์ พาหนะ สิ่งปลูกสร้าง และสิ่งของอื่นๆ ที่มีวงจร[[อิเล็กทรอนิกส์]] [[ซอฟต์แวร์]] [[ตัวรับรู้|ไม่เซ็นเซอร์]] และ[[การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต|การเชื่อมต่อกับเครือข่าย]] [[ระบบฝังตัว|ฝังตัว]]อยู่ และทำให้วัตถุเหล่านั้นสามารถเก็บไม่บันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้<ref>{{cite web|url=http://www.itu.int/en/ITU-T/gsi/iot/Pages/default.aspx|title=Internet of Things Global Standards Initiative|work=ITU|accessdate=26 June 2015}}</ref> อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งทำให้วัตถุสามารถรับรู้สภาพแวดล้อมและถูกควบคุมได้จากระยะไกลผ่านโครงสร้างพื้นฐานเครือข่าย4gที่มีอยู่แล้ว<ref>https://hbr.org/resources/pdfs/comm/verizon/18980_HBR_Verizon_IoT_Nov_14.pdf</ref> ทำให้เราสามารถผสานโลกกายภาพกับระบบคอมพิวเตอร์ได้แนบแน่นมากขึ้น ผลที่ตามมาคือประสิทธิภาพ ความแม่นยำ และประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เพิ่มมากขึ้น<ref>http://www.internet-of-things-research.eu/pdf/Converging_Technologies_for_Smart_Environments_and_Integrated_Ecosystems_IERC_Book_Open_Access_2013.pdf</ref><ref>http://www.cisco.com/web/solutions/trends/iot/introduction_to_IoT_november.pdf</ref><ref>http://cordis.europa.eu/fp7/ict/enet/documents/publications/iot-between-the-internet-revolution.pdf</ref><ref>http://www.vs.inf.ethz.ch/publ/papers/Internet-of-things.pdf</ref><ref>http://www.cognizant.com/InsightsWhitepapers/Reaping-the-Benefits-of-the-Internet-of-Things.pdf</ref><ref>{{Cite web|title = The Supply Chain: Changing at the Speed of Technology|url = http://connectedworld.com/the-supply-chain-changing-at-the-speed-of-technology/|accessdate = 2015-09-18}}</ref> เมื่อ IoT ถูกเสริมด้วยเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์ซึ่งสามารถเปลี่ยนลักษณะทางกลได้ตามการกระตุ้น ก็จะกลายเป็นระบบที่ถูกจัดประเภทโดยทั่วไปว่า[[ระบบไซเบอร์-กายภาพ]] (cyber-physical system) ซึ่งรวมถึงเทคโนโลยีอย่าง [[กริดไฟฟ้าอัจริยะ]] (สมาร์ตกริด) [[บ้านอัจฉริยะ]] (สมาร์ตโฮม) ระบบขนส่งอัจฉริยะ (อินเทลลิเจนต์ทรานสปอร์ต) และ[[เมืองอัจฉริยะ]] (สมาร์ตซิตี้) วัตถุแต่ละชิ้นสามารถถูกระบุได้โดยไม่ซ้ำกันผ่านระบบคอมพิวเตอร์ฝังตัว และสามารถทำงานร่วมกันได้บนโครงสร้างพื้นฐาน[[อินเทอร์เน็ต]]ที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน ผู้เชี่ยวชาญประเมินว่าเครือข่ายของสรรพสิ่งจะมีวัตถุเกือบ 50,000 ล้านชิ้นภายในปี 2020<ref>{{cite web|url=http://www.iotsworldcongress.com/documents/4643185/0/IoT_IBSG_0411FINAL+Cisco.pdf|title=The Internet of Things: How the Next Evolution of the Internet Is Changing Everything|author=Dave Evans|date=April 2011|work=Cisco|accessdate=4 September 2015}}</ref> มูลค่าตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 80 พันล้านเหรียญ<ref>Toptal - [https://www.toptal.com/designers/interactive/smart-home-domestic-internet-of-things หน้าแรกสมาร์ท: การท่องเที่ยวทางอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่างๆ]</ref>
 
"สรรพสิ่ง" ในความหมายของ IoT สามารถหมายถึงอุปกรณ์ที่แตกต่างหลากหลาย เช่น อุปกรณ์วัดอัตราหัวใจแบบฝังในร่างกาย แท็ก[[ไบโอชิป]]ที่ติดกับปศุสัตว์ ยานยนต์ที่มีเซ็นเซอร์ในตัว อุปกรณ์วิเคราะห์ดีเอ็นเอในสิ่งแวดล้อมหรืออาหาร<ref name="Erlich2015">{{cite journal|last1=Erlich|first1=Yaniv|title=A vision for ubiquitous sequencing|journal=Genome Research|volume=25|issue=10|year=2015|pages=1411–1416|issn=1088-9051|doi=10.1101/gr.191692.115}}</ref> หรืออุปกรณ์ภาคสนามที่ช่วยในการทำงานของนักผจญเพลิงในภารกิจค้นหาและช่วยเหลือ<ref name="Definition-IoT">I. Wigmore: [http://whatis.techtarget.com/definition/Internet-of-Things "Internet of Things (IoT)"]. TechTarget, June 2014.</ref> อุปกรณ์เหล่านี้จะจัดเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ด้วยการใช้เทคโนโลยีหลากหลายชนิดและจากส่งต่อข้อมูลระหว่างอุปกรณ์อื่นๆ โดยอัตโนมัติ<ref name="IoT journal">{{cite journal|last1=Farooq|first1=M.U.|last2=Waseem|first2=Muhammad|last3=Khairi|first3=Anjum|last4=Mazhar|first4=Sadia|title=A Critical Analysis on the Security Concerns of Internet of Things (IoT)|journal=International Journal of Computer Applications (IJCA)|date=2015|volume=11|doi=10.5120/19547-1280|pages=1–6}}</ref><ref>{{cite web|last1=Hendricks|first1=Drew|title=The Trouble with the Internet of Things|url=http://data.london.gov.uk/blog/the-trouble-with-the-internet-of-things/|website=London Datastore|publisher=Greater London Authority|accessdate=10 August 2015}}</ref> ตัวอย่างในตลาดขณะนี้ เช่น [[เทอร์โมสตัต]]อัจฉริยะ และเครื่องซักผ้า-อบผ้าที่ต่อกับเครือข่ายไวไฟเพื่อให้สามารถดูสถานะจากระยะไกลได้