ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวีปยุโรป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 43:
}}
 
'''ทวีปยุโรป''' (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") เป็น[[ทวีป]]ที่ตั้งอยู่ใน[[ซีกโลกเหนือ]]และส่วนมากอยู่ใน[[ซีกโลกตะวันออก]] ทางเหนือติดกับ[[มหาสมุทรอาร์กติก]] ทางใต้ติดกับ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] ทางตะวันออกติดกับ[[ทวีปเอเชีย]] ทางตะวันตกติดกับ[[มหาสมุทรแอตแลนติก]] เป็นอนุทวีปทางด้านตะวันตกของ[[ทวีปยูเรเชีย]]
== อีแอ๋ว==
 
ตั้งแต่ประมาณ 1850 การ[[Borders of the continents#Europe and Asia|แบ่งยุโรปกับเอเชีย]]มักยึดตาม[[สันปันน้ำ]]ของ[[เทือกเขายูรัล]]และ[[เทือกเขาคอเคซัส]] [[ แม่น้ำยูรัล]] [[ทะเลแคสเปียน]] [[ทะเลดำ]]และ[[ช่องแคบตุรกี]]<ref name="NatlGeoAtlas">{{Cite book|title=National Geographic Atlas of the World|edition=7th|year=1999|location=Washington, DC|publisher=[[National Geographic Society|National Geographic]]|isbn=0-7922-7528-4}} "Europe" (pp. 68–69) ; "Asia" (pp. 90–91) : "A commonly accepted division between Asia and Europe&nbsp;... is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles."</ref> แม้คำว่า "ทวีป" จะหมายถึง[[ภูมิศาสตร์กายภาพ]]ของผืนดินขนาดใหญ่ที่ไม่มีการแบ่งอย่างแน่นอนและชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณชายแดนยุโรปกับเอเชียของยูเรเชียนั้นแสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่งเขตแดน เส้นแบ่งเขตแดนของทวีปไม่ได้แบ่งตามเส้นแบ่งเขตแดนทางการเมืองทำให้[[ตุรกี]] [[รัสเซีย]]และ[[คาซัคสถาน]]เป็น[[ประเทศข้ามทวีป]]
 
ยุโรปมีพื้นที่ประมาณ 10,180,000 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 2% ของผิวโลก (6.8% ของผืนดิน) ในทางการเมือง[[รายชื่อรัฐอธิปไตยและเขตปกครองในทวีปทวีปยุโรป|ยุโรปมีรัฐอธิปไตยและเขตปกครองกว่า 50 รัฐ]] ซึ่งมี[[รัสเซีย]]เป็นประเทศที่ใหญ่และมีประชากรมากที่สุด โดยกินพื้นที่ทวีปยุโรป 39% และมีประชากรทั้งหมด 15% ของทวีป ใน {{UN_Population|Year}} ยุโรปมีประชากรประมาณ {{#expr:{{replace|{{UN_Population|Europe}}|,||}}/1e6 round 0}}&nbsp;ล้านคน{{UN_Population|ref}} (หรือ 11% ของ[[ประชากรโลก]]) [[ภูมิอากาศยุโรป]]ส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากกระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรแอตแลนติกทำให้ภายในทวีปจะมีอากาศหนาวจัดในฤดูหนาวและร้อนในฤดูร้อนแม้ใน[[ละติจูด]]เดียวกันในเอเชียกับอเมริกาเหนือจะมีสภาพอากาศที่รุนแรง ยุโรปภาคพื้นทวีปจะเห็นความแตกต่างตามฤดูกาลได้ชัดเจนกว่าบริเวณชายฝั่ง
 
ทวีปยุโรปโดยเฉพาะ[[กรีซโบราณ]]เป็นแหล่งกำเนิด[[วัฒนธรรมตะวันตก]]<ref>{{harvnb|Lewis|Wigen|1997|page=226}}</ref><ref>{{cite book|author=Kim Covert|title=Ancient Greece: Birthplace of Democracy|url=https://books.google.com/books?id=KVMYJNvUiYkC&pg=PP5|date=1 July 2011|publisher=Capstone|isbn=978-1-4296-6831-6|page=5|quote=Ancient Greece is often called the cradle of western civilization. ... Ideas from literature and science also have their roots in ancient Greece.}}</ref><ref name="Duchesne2011">{{cite book|author=Ricardo Duchesne|title=The Uniqueness of Western Civilization|url=https://books.google.com/books?id=pWmDPzPo0XAC&pg=PA297|date=7 February 2011|publisher=Brill|isbn=90-04-19248-4|page=297|quote=The list of books which have celebrated Greece as the “cradle” of the West is endless; two more examples are Charles Freeman's The Greek Achievement: The Foundation of the Western World (1999) and Bruce Thornton's Greek Ways: How the Greeks Created Western Civilization (2000)}}</ref> การล่มสลายของ[[จักรวรรดิโรมันตะวันตก]]ใน ค.ศ 476 และ[[สมัยการย้ายถิ่น]]ช่วงต่อมา เป็นจุดจบของ[[สมัยโบราณ]]และเป็นจุดเริ่มต้นของ[[สมัยกลาง]] [[มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา]] [[ยุคแห่งการสำรวจ]] [[Renaissance art|ศิลปะ]]และ[[Renaissance science|วิทยาศาสตร์]]อันเป็นเป็นรากฐานนำไปสู่[[สมัยใหม่]] ตั้งแต่[[ยุคแห่งการสำรวจ]]เป็นต้นมานั้นยุโรปมีบทบาทสำคัญระดับโลกในด้านเศรษฐกิจ ระหว่างศตวรรษที่ 16 ถึง 20 ประเทศในยุโรป[[สมัยอาณานิคมยุโรป|มีอำนาจปกครอง]]หลาย ๆ ครั้งใน[[ทวีปอเมริกา]] เกือบทั้งหมดของ[[แอฟริกา]]และ[[โอเชียเนีย]]ร่วมถึงพื้นที่ส่วนใหญ่ของ[[เอเชีย]]
 
[[ยุคเรืองปัญญา]]หลังจาก[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]และ[[สงครามนโปเลียน]]ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปวัฒนธรรม การเมืองและเศรษฐกิจในช่วงปลายศตวรรษที่ 17 ถึงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 19 [[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]]ใน[[สหราชอาณาจักร]]ช่วงปลายศตวรรษที่ 18 ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคมเป็นอย่างมากใน[[ยุโรปตะวันตก]]และขยายไปทั่วทั้งโลกในเวลาต่อมา [[สงครามโลก]]ทั้ง 2 ครั้งมีสมรภูมิส่วนใหญ่อยู่ในทวีปยุโรปนั้น ทำให้ช่วงกลางศตวรรษที่ 20 [[สหภาพโซเวียต]]และ[[สหรัฐ]]ขึ้นมามีอำนาจในขณะที่ประเทศยุโรปตะวันตกส่วนใหญ่มีอำนาจลดลง<ref name="natgeo 534">National Geographic, 534.</ref> ระหว่าง[[สงครามเย็น]]ยุโรปถูกแบ่งด้วย[[ม่านเหล็ก]]ระหว่าง[[เนโท]]ทางตะวันตกกับ[[กติกาสัญญาวอร์ซอ]]ในตะวันออก จนกระทั่งสิ้นสุดลงหลัง[[การปฏิวัติ ค.ศ. 1989]]และ[[กำแพงเบอร์ลิน#การล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน|การล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน]]
 
ใน ค.ศ. 1949 [[สภายุโรป]]ก่อตั้งขึ้นตามคำปราศรัยของ เซอร์[[วินสตัน เชอร์ชิล]] ซึ่งมีแนวคิดในการรวมยุโรปเพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน ทุกประเทศในยุโรปเป็นสมาชิกยกเว้น[[เบลารุส]] [[คาซัคสถาน]]และ[[นครรัฐวาติกัน]] [[การบูรณาการยุโรป]]อื่น ๆ อย่างการรวมกลุ่มโดยบางประทศนำไปสู่การก่อตั้ง[[สหภาพยุโรป]] (อียู) ซึ่งเป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมืองซึ่งมีรูปแบบ[[สมาพันธรัฐ]]และ[[สหพันธรัฐ]]<ref>{{cite web|url=http://www.ies.ee/iesp/No11/articles/03_Gabriel_Hazak.pdf|title=The European union—a federation or a confederation?|publisher=}}</ref> สหภาพยุโรปก่อตั้งขึ้นในยุโรปตะวันตกแต่เริ่มเพิ่มสมาชิกในยุโรปตะวันออกตั้งแต่[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]]ในปี 1991 ประเทศที่เป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปส่วนใหญ่ใช้สกุลเงิน[[ยูโร]]ซึ่งชาวยุโรปนิยมใช้กันทั่วไป; และใน[[เขตเชงเก้น]]ของอียูจะยกเลิกการควบคุมชายแดนและการอพยพระหว่างประเทศสมาชิก [[เพลงประจำสหภาพยุโรป]]คือ "[[ปีติศังสกานท์]]"และมี[[วันยุโรป]]เพื่อการเฉลิมฉลองสันติภาพและเอกภาพประจำปีในทวีปยุโรป
{{TOC limit|3}}
 
== ที่สุดในทวีปยุโรป==
{|class="wikitable"
|-