ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศชาติชาดก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Zeegarshow (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนเนื้อหาอาจละเมิดลิขสิทธิ์ หรือไม่เป็นสารานุกรม ไม่ใช่? แจ้งที่นี่
บรรทัด 5:
 
== ชาดกทั้ง 10 เรื่อง ==
;[[ เตมิยชาดก]] : ชาติที่ 1 เพื่อบำเพ็ญเนกขัมมบารมี - เตมียชาดก (เต) เป็นชาติแรกในทศชาติชาดก ก่อนที่จะมาตรัสรู้เป็นสมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้านามพระโคดม ชาตินี้ พระองค์ทรงบำเพ็ญเนกขัมมบารมี หมายถึง การออกบวช
 
; [[พระมหาชนก|มหาชนกชาดก]]: ชาติที่ 2 เพื่อบำเพ็ญวิริยบารมี - มหาชนกชาดก (ช) พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระชนกกุมาร โอรสพระเจ้าอริฏฐชนก กษัตริย์เมืองมิถิลา ขณะที่เสด็จลงสำเภาไปค้าขาย เกิดพายุใหญ่เรือแตกกลางมหาสมุทร พระมหาชนกทรงว่ายน้ำโต้คลื่นอยู่ในมหาสมุทรถึง 7 วัน นางเมขลาเห็นจึงพูดลองใจว่าให้พระองค์ยอมตายเสียเสียตามบุญตามกรรม แต่พระองค์ก็ไม่ทรงฟัง ยังพยายามว่ายน้ำโต้คลื่นอยู่ตามเดิมนาง[[เมขลา]]เห็นเลื่อมใสในความพยายาม จึงอุ้มพระองค์เหาะไปส่งที่ฝั่ง พระชาตินี้พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญ วิริยบารมี
บรรทัด 14:
; [[เนมิราชชาดก]] : ชาติที่ 4 เพื่อบำเพ็ญอธิษฐานบารมี - เนมิราชชาดก (เน) เป็น[[ชาติ]]ที่ 4 ของ[[ทศชาติชาดก]] พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเนมิราช โอรสเจ้าเมืองมิถิลา โปรดการบริจาคทานและรักษาพรหมจรรย์ พระอินทร์ทรงพอพระทัย ถึงกับให้พระมาตุลีนำทิพยรถมารับไปเที่ยวเมืองสวรรค์ และเมืองนรก แล้วเชิญให้ครองเมืองสวรรค์ พระเนมิราชไม่ทรงรับและเสด็จกลับบ้านเมืองของพระองค์ พอทรงชราก็ออกผนวช พระชาตินี้พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญ อธิษฐานบารมี
 
; [[มโหสถชาดก]] :ชาติที่ 5 เพื่อบำเพ็ญปัญญาบารมี
; [[มโหสถชาดก]] :ชาติที่ 5 เพื่อบำเพ็ญปัญญาบารมี - มโหสถชาดก (มะ) เป็นชาติที่ 5 ของทศชาติชาดก พระโพธิสัตว์เสวยชาติเป็นมโหสถบัณฑิต เป็นโอรสบุญธรรมและมหาบัณฑิตของพระเจ้าวิเทหราช พระเจ้าจุลนีพรหมทัตหมายจะตีกรุงมิถิลาแต่ถูกมโหสถบัณฑิตยับยั้งไว้ จึงขอร้องให้มโหสถมารับราชการที่ราชสำนักของพระองค์แต่มโหสถบัณฑิตได้ปฏิเสธไป แต่ได้ให้สัญญากับพระเจ้าจุลนีพรหมทัตว่าถ้าพระเจ้าวิเทหราชสวรรคตเมื่อไหร่จะไปรับใช้ทันที หลังจากพระเจ้าวิเทหราชสวรรคตมโหสถได้ไปรับใช้พระเจ้าจุลนีพรหมทัตตามสัญญาตราบจนสิ้นอายุขัย
:'''[[;ภูริทัตชาดก]]''' : ชาติที่ 6 เพื่อบำเพ็ญศีลบารมี
; จันทชาดก : ชาติที่ 7 เพื่อบำเพ็ญขันติบารมี
: ชาติที่ 6 เพื่อบำเพ็ญศีลบารมี - ภูริทัตชาดก (ภู) เป็นชาติที่ 6 ของทศชาติชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระภูริทัต ซึ่งมีนาคทั้งสี่ นามว่า สุทัศนะ ทัตตะ สุโภคะ และอริฏฐะ วันหนึ่งท้าววิรูปักษ์พาพวกนาคไปเฝ้าพระอินทร์บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ทัตตะก็ตามไปด้วย ในขณะนั้นเหล่าเทวดาแก้ข้อสงสัยของพระอินทร์ไม่ได้ แต่ทัตตะทำได้ พระอินทร์ทรงพอใจยิ่ง จึงประทานชื่อให้ว่า ภูริทัตต แปลว่า ผู้มีปัญญาดุจแผ่นดิน เมื่อได้เห็นสวรรค์ ภูริทัตตจึงอยากเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์บ้าง จึงขอพระบิดาพระมารดาขึ้นมาบำเพ็ญศีลอยู่ที่โลกมนุษย์โดยขดรอบจอมปลวกอยู่ใกล้ต้นไทรริมแม่น้ำยมุนา และได้ตั้งสัจจอธิษฐานว่า แม้ผู้ใดต้องการหนัง เอ็น กระดูก เลือดเนื้อของตน ก็จะยอมบริจาคให้ ขอเพียงให้รักษาศีลให้บริสุทธิ์ก็พอ
; นารทชาดก : ชาติที่ 8 เพื่อบำเพ็ญอุเบกขาบารมี
;[[จันทชาดก]] :ชาติที่ 7 เพื่อบำเพ็ญขันติบารมี - จันทกุมารชาดก (จัน) เป็นชาติที่ 7 ของทศชาติชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระจันทกุมาร ทรงบำเพ็ญขันติบารมี คือ กัณฑหาลพราหมณ์แค้นที่พระจันทกุมารตัดสินคดีอย่างยุติธรรม ทำให้ตนเองเสียผลประโยชน์จากสินบนไป วันหนึ่งพระเจ้าเอกราชทรงพระสุบิน (ฝัน) เห็นดาวดึงส์เทวโลกอันงดงามอลังการเมื่อตื่นจากบรรทมทรงปรารถนาที่จะไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ จึงตรัสถามวิธีไปสวรรค์จากพราหมณ์ พราหมณ์ผู้รอคอยโอกาสจะแก้แค้นพระจันทกุมาร จึงทูลหลอกว่าจะไปสวรรค์ได้ต้องบูชายัญโดยให้ตัดพระเศียร (ศีรษะ) ของพระจันทกุมาร พระธิดา พระมเหสี เศรษฐี ช้าง ม้า และโค มาเป็นเครื่องเซ่นสรวง แต่พราหมณ์กัณฑหาลบอกให้บูชายัญคนอื่นด้วย เพราะกลัวคิดว่าท่านจะเคียดแค้นพระจันทกุมาร จึงรับสั่งตามนั้น ระหว่างที่จะบูชายัญท้าวสักกะเทวราชแสดงปาฏิหารย์ เพราะพระนางจันทาเทวี ขอพนอธิษฐานต่อเทวดา จนพราหมณ์ตนนั้นกลิ้งลงไป จนโดนชาวเมืองรุมประชาทัณฑ์จนตาย แต่พระเจ้าเอกราชรอดเพราะพระจันทกุมารช่วยปกป้องไว้ แต่โดนเนรเทศแทน จากนั้นพระจันทกุมารจึงไปเสด็จเยี่ยมพระราชบิดาอยู่เนืองๆ:
; วิทูรชาดก : ชาติที่ 9 เพื่อบำเพ็ญสัจจบารมี
;[[นารทชาดก]] :ชาติที่ 8 เพื่อบำเพ็ญอุเบกขาบารมี - นารทพรหมชาดก (นา) เป็นพระชาติที่ 8 ของทศชาติชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระนารทพรหม ทรงบำเพ็ญอุเบกขาบารมี คือ พระราชาองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า อังคติราช ครองเมืองมิถิลา เป็นผู้ที่ตั้งมั่นในทศพิธราชธรรม พระธิดาของพระเจ้าอังคติราชมีพระนามว่า รุจาราชกุมารี มีรูปโฉมงดงาม พระราชาทรงรักใคร่พระธิดาอย่างยิ่ง คืนวันหนึ่งเป็นเทศกาลมหรสพ ประชาชนพากัน ตกแต่งเคหสถานอย่างงดงาม พระเจ้าอังคติราช ประทับอยู่ท่ามกลางเหล่าอำมาตย์ในปราสาทใหญ่ ประดับประดาอย่างวิจิตรตระการ พระจันทร์กำลังทรงกลด เด่นอยู่กลางท้องฟ้า พระราชาทรงปรารภกับหมู่อำมาตย์ว่า ''"ราตรีเช่นนี้น่ารื่นรมย์นัก เราจะทำอะไรให้เพลิดเพลินดีหนอ"'' วิชัยอำมาตย์ทูลว่า ''"ข้าแต่พระองค์ เรื่องการระบำ ดนตรีฟ้อนร้องนั้น เป็นสิ่งที่พระองค์ได้ทรงทอดพระเนตรอยู่แล้วเป็นนิตย์ ในราตรีอันผุดผ่องเช่นนี้ ควรไปหาสมณพราหมณ์ผู้รู้ธรรม แล้วนิมนต์ท่านแสดงธรรมะจะเป็นการควรกว่าพระเจ้าค่ะ"'' <br />พระราชาพอพระทัยคำทูลของวิชัยอำมาตย์ จึงตรัสถามว่า ''"เออ แล้วเราจะไปหาใครเล่าที่เป็น ผู้รู้ธรรม"'' อลาตอำมาตย์แนะขึ้นว่า ''"มีชีเปลือยรูปหนึ่งอยู่ในมิคทายวัน เป็นพหูสูตร พูดจาน่าฟัง ท่านคงจะช่วยขจัดข้อสงสัยของเราทั้งหลายได้ ท่านมีชื่อว่า คุณาชีวก"''
; [[มหาเวสสันดรชาดก|เวสสันดรชาดก]] : ชาติที่ 10 เพื่อบำเพ็ญทานบารมี - สำหรับชาติสุดท้าย เป็นชาติที่สำคัญ และบำเพ็ญบารมีอันยิ่งใหญ่ คือ เวสสันดรชาดก (เว) หรือเรื่องพระเวสสันดร คือการให้ทานโดยให้พระโอรสของตนคือ "พระชาลีและพระกัณหา" กล่าวคือบริจาคลูก-เมีย แก่พราหมณ์ชูชกซึ่งนางอมิตดาให้นำมาเป็นข้ารับใช้ของตน:
:พระเจ้าอังคติราชจึงพาไปหาชีเปลือยนั้นและได้ฟังคำกล่าวของชีเปลือยว่าบุญ,บาป ไม่มีจริง และอำมาตย์ก็ระลึกชาติ บ้างก็บอกว่า ทำบุญแล้วจน ทำบาปแล้วรวย ซึ่งเจ้าหญิงราชกุมารีก็ให้เหตุผล แต่ก็ยังไม่เชื่อ พระนารทพรหม จึงให้เหตุผลต่างๆนานา และเล่าถึงนรกจนกลัว จนพระเจ้าอังคติราชทรงเลื่อมใสและให้ทาน รักษาศีล
:
;[[วิทูรชาดก|วิธูรชาดก]] :ชาติที่ 9 เพื่อบำเพ็ญสัจจบารมี - วิธูรชาดก (วิ) เป็นพระชาติที่ 9 ของทศชาติชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นวิธูรบัณฑิต ทรงบำเพ็ญสัจจะบารมี กล่าวคือ "ยอมตาย ไม่ยอมคด" ทรงมีนักปราชญ์ประจำราชสำนักชื่อว่า วิธูร วิธูรเป็นผู้มีวาจาฉลาดหลักแหลม เมื่อจะกล่าวถ้อยคำสิ่งใดก็สามารถทำให้ผู้ฟังเกิดความเลื่อมใสครัทธราและ ชื่นชมยินดีในถ้อยคำนั้น <br />  ในครั้งนั้นมีพราหมณ์อยู่ 4 คน เคยเป็นเพื่อนสนิทกันมาแต่เก่าก่อน ต่อมาพราหมณ์ทั้งสี่ ได้ออกบวช เป็นฤษีบำเพ็ญพรตอยู่ในป่าหิมพานต์ และบางครั้งก็เข้ามาสั่งสอนธรรมแก่ผู้คนในเมืองบ้าง ครั้งหนึ่งมีเศรษฐี 4 คน ได้อัญเชิญฤาษีทั้งสี่ไปที่บ้านของตน ทั้งท้าวสักกะ พญานาควรุณ พญาครุฑ และ พระราชา ล้วนมีจิตใจ ปรารถนาจะรักษาศีล บำเพ็ญธรรม ต่างก็ได้แสวงหาโอกาสที่จะรักษา ศีลอุโบสถและบำเพ็ญบุญ ให้ทาน อยู่เป็นนิตย์ จนคิดว่าใครรักษาศีลบริสุทธิ์ที่สุด จนพากันไปหาวิธูรบัณฑิต วิธูรบัณฑิตจึงตัดสินว่า ''"คุณธรรมทั้งสี่ ประการนั้น ล้วนเป็นคุณธรรมอันเลิศทั้งสิ้น ต่างอุดหนุนเชิดชูซึ่งกันและกัน ไม่มีธรรมข้อไหน ต่ำต้อยกว่ากันหรือเลิศกว่ากัน บุคคลใดตั้งมั่นอยู่ในคุณธรรมทั้งสี่นี้ ถือได้ว่าเป็นสันติชนในโลก''" จนวันหนึ่งนางวิมลาต้องการหัวใจของวิธูรบัณฑิต ปุณณกยักษ์เห็นก็หลงรักนาง จึงคิดจะฆ่าวิธูรบัณฑิต แต่ก็รอดทุกรอบ เพราะบุญช่วยเกื้อหนุนไว้ วิธูรจึงแสดงธรรมชื่อว่า ราชวสดีธรรมอันเป็นธรรมสำหรับข้าราชการ จะพึงปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้า ในหน้าที่การงานและเพื่อเป็นหลักสำหรับ ยึดถือในการปฏิบัติหน้าที่และการแก้ไข ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ผ่านไปพญานาควรุณจึงตรัสว่า ''"ปัญญานั้นแหละคือหัวใจของบัณฑิต หาใช่หัวใจที่เป็นเลือดเนื้อไม่"''
; [[มหาเวสสันดรชาดก|เวสสันดรชาดก]] :ชาติที่ 10 เพื่อบำเพ็ญทานบารมี - สำหรับชาติสุดท้าย เป็นชาติที่สำคัญ และบำเพ็ญบารมีอันยิ่งใหญ่ คือ เวสสันดรชาดก (เว) หรือเรื่องพระเวสสันดร คือการให้ทานโดยให้พระโอรสของตนคือ "พระชาลีและพระกัณหา" กล่าวคือบริจาคลูก-เมีย แก่พราหมณ์ชูชกซึ่งนางอมิตดาให้นำมาเป็นข้ารับใช้ของตน
 
== อ้างอิง ==