ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รังสีแคโทด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Maxnaja (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Crookes-maltese-tube.jpg|thumb|250px|รังสีแคโทดทำให้เกิดภาพเงาบนผนังของ[[ท่อครุก]] (Crookes tube)|link=Special:FilePath/Crookes-maltese-tube.jpg]]
 
'''รังสีแคโทด''' ({{lang-en|cathode ray}}) คือกระแสของ[[อิเล็กตรอน]]ที่สังเกตได้ใน[[ท่อสุญญากาศ]] ถ้าเราติดตั้งอิเล็กโทรดสองชุดเข้ากับท่อกับ่อแก้วที่เป็นสุญญากาศแล้วจ่ายโวลต์เข้าไปในอีจูน จะสังเกตได้ว่าแก้วทางฝั่งตรงข้ามของ[[อิเล็กโทรด]]ขั้วลบจะเรืองแสง ซึ่งเกิดจากการปลดปล่อยอิเล็กตรอนและเดินทางตั้งฉากกับ[[แคโทด]] (คือขั้วอิเล็กโทรดที่เชื่อมต่อกับขั้วลบของแรงดันจ่าย) ปรากฏการณ์ชาตินี้สังเกตพบครั้งแรกโดย [[โจฮันน์ ฮิตทอร์ฟ]] นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเมื่อปี ค.ศ. 1869 ต่อมาในปี ค.ศ. 1876 [[ยูจีน โกลด์สไตน์]] ตั้งชื่อให้ว่า ''kathodenstrahlen'' หรือรังสีแคโทด<ref>Joseph F. Keithley '' The story of electrical and magnetic measurements: from 500 B.C. to the 1940s'' John Wiley and Sons, 1999 ISBN 0-7803-1193-0, page 205 </ref>
 
ปี ค.ศ. 1897 [[เจ. เจ. ทอมสัน]] นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ พิสูจน์ว่ารังสีนี้ประกอบด้วยอนุภาคประจุลบซึ่งไม่เคยรู้จักมาก่อน ต่อมาจึงมีการตั้งชื่ออนุภาคนี้ว่า "อิเล็กตรอน" [[หลอดรังสีแคโทด]] (Cathode ray tube หรือ CRT) เป็นท่อใช้ควบคุมการหักเหของลำอิเล็กตรอนโดยอาศัยสนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้า เพื่อใช้สร้างภาพบนจอโทรทัศน์ยุคเก่า ที่เรียกกันว่า จอ CRT