ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้อตกลงการบินโดยใช้รหัสเที่ยวบินร่วมกัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pattara2001 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pattara2001 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
* ช่วยให้รับรู้ถึงความต้องการในตลาด: วิธีนี้ช่วยให้สายการบินที่ไม่ได้บินด้วยเครื่องบินของตนในเส้นทาง ได้รับข้อมูลทางการตลาดผ่านการแสดงหมายเลขเที่ยวบินของสายการบิน
* เมื่อสายการบินนำที่นั่งของตนให้กับสายการบินอื่นในฐานะสายการบินคู่พันธมิตร ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานจะลดลง<ref>Sharkey, Joe (5 ธันวาคม, 2011). [https://www.nytimes.com/2011/12/06/business/global/forget-the-airlines-name-its-all-about-alliances.html?_r=2&ref=business "Forget the Airline's Name; It's All About Alliances"]. ''The New York Times''. เข้าถึงวันที่ 14 พฤษภาคม 2019.</ref>
 
== ประเภทของข้อตกลงการบินโดยใช้รหัสเที่ยวบินร่วมกัน ==
ข้อตกลงการบินมีหลายประเภท ดังนี้
 
# Block space codeshare: สายการบินที่ทำการตลาดซื้อที่นั่งอย่างจำนวนแน่นอนจากสายการบินที่ปฏิบัติการ (หรือ สายการบินหลัก) โดยจะจ่ายในราคาที่แน่นอนให้กับสายการบินหลักและจะไม่อยู่ภายใต้การจัดการการขายของสายการบินหลัก สายการบินที่ทำการตลาดจะเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะจำหน่ายที่ใดในชั้นใด (บริเวณของที่นั่งจะถูกกำหนดไว้อย่างแน่นอน)
# Free flow codeshare: ระบบการจองของสายการบินที่ทำการตลาดและสายการหลักจะมีการสื่อสารกันตลอดเวลา โดยใช้ระบบ IATA AIRIMP/PADIS messaging (TTY and EDIFACT) ชั้นของบัตรโดยสารจะถูกจัดการร่วมกัน โดยไม่มีที่นั่งถูกจำกัดไว้ให้แต่ละสายการบิน และแต่ละสายการบินจะจำหน่ายเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้
# Capped free flow: จะคล้ายกับ Free flow codeshare แต่จะมีการกำหนดจำนวนที่นั่งสูงสุดที่จำหน่ายได้ของแต่ละสายการบินที่ทำการตลาดภายใต้ข้อตกลงร่วมกับสายการบินปฏิบัติการ
 
== ความกังวลของสายการบินคู่แข่ง ==
การแข่งขันในอุตสาหกรรมการบินเกิดขึ้นที่การจำหน่าย[[ตํ๋วเครื่องบิน|ตํ๋ว]] (หรือ "การจองที่นั่ง") กลยุทธ์ ([[การบริการรายได้]], [[การกำหนดราคาแปรผัน]], [[ภูมิศาสตร์ทางการค้า]]) อย่างไรก็ตาม [[:en:Consumer_organization|องค์กรเพื่อผู้บริโภคสหรัฐอเมริกา]] และองค์การการค้าแห่งสหรัฐอเมริกามีการต่อต้านการใช้รหัสเที่ยวบินร่วมกันเนื่องจากเป็นการสร้างความสับสนและเป็นการไม่โปร่งใสแก่ผู้โดยสาร<ref name=":0">[http://abcnews.go.com/Business/FlyingHigh/Story?id=865304&page=1 "What the Heck Is a Codeshare, Anyway?".] ABC News.</ref>
 
== พันธมิตรทางอากาศ-ทางราง ==
นอกจากนี้ยังมีการทำข้อตกลงระหว่าง[[สายการบิน]]และ[[การขนส่งระบบราง|บริษัทรถไฟ]]หรือรู้จักในนาม [[Air-rail alliance|พันธมิตรทางอากาศ-ทางราง]] โดยมักทำการตลาดในรูปของ "Rail & Fly" โดยเกิดมาจากความนิยมของ [[ด็อยท์เชอบาน]]กับสายการบินจำนวนมาก<ref name=":0" />
 
==อ้างอิง==