ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sodacan (คุย | ส่วนร่วม)
vector version available (GlobalReplace v0.6.5)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
[[ไฟล์:เจ้าพระยาวงศานุประพัทธ2.jpg|thumb|200px|เจ้าพระยาวงศานุประพัทธ์ เมื่อ พ.ศ. 2465]]
[[ไฟล์:ภาพล้อฝีพระหัตถ์-เจ้าพระยาวงศานุประพัทธ์.jpg|thumb|200px|ภาพล้อเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 ทรงวาดจากภาพต้นฉบับด้านบน]]
'''มหาอำมาตย์เอก พลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์''' (นามเดิม:หม่อมราชวงศ์สท้าน หรือ หม่อมราชวงศ์กลาง) ([[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2409]] <ref>หนังสือ "ประวัตินายพลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (ม.ร.ว. สท้าน สนิทวงศ์)" โดยข้าราชการในกรมรถไฟ และกองทางกรมโยธาเทศบาล พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพ ระบุว่าเกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2409</ref> - [[20 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2483]]) อดีตเสนาบดี[[กระทรวงเกษตราธิการ]] (พ.ศ. 2452 – 2455) และ[[กระทรวงคมนาคม]] ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[องคมนตรี]]ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นพระอัยกา (ตา) ใน[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] และเป็นพระปัยกา (ทวด) ใน[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รวมทั้งเคยเป็นข้าหลวงใหญ่ปักปันเขตแดนบริเวณตอนเหนือของสยามกับ[[หลวงพระบาง]]ในแคว้น[[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] ระหว่าง [[พ.ศ. 2447]] - [[พ.ศ. 2450]] <ref name="ลิ้นชักภาพเก่า"/>
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 37:
ต่อมาภายหลัง[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดให้รวมกระทรวงเกษตราธิการกับกระทรวงพาณิชย์และคมนาคมเป็นกระทรวงเดียวกัน เรียกว่ากระทรวงเกษตรพาณิชยการ แล้วให้เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์เป็นเสนาบดี<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2475/A/180.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ผลัดเปลี่ยนเสนาบดี ปลัดทูลฉลองกระทรวงต่าง ๆ และรวมกระทรวง], เล่ม ๔๙, ตอน ๐ ก, ๒๙ มิถุนายน ๒๔๗๕, หน้า ๑๘๑</ref>
 
เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์และ[[ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)]] เป็นผู้เลี้ยงดู[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] ในระหว่าง พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2477 เมื่อ[[หม่อมหลวงบัว กิติยากร]] ต้องติดตาม[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ|หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร]] ไปปฏิบัติราชการ ตำแหน่งเลขานุการเอก ณ สถานเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุง[[วอชิงตัน ดี.ซี.]] [[สหรัฐอเมริกา]] <ref>http://www.sf.ac.th/honour/honour.htm</ref>
 
เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง[[โรงเรียนสายปัญญา]] โดยเมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ สิ้นพระชนม์ ท่านเป็นต้นคิดในหมู่ทายาท ให้นำวังของพระบิดา มาก่อตั้งเป็นสถานศึกษาสำหรับสตรี โดยได้รับพระราชทานนามโรงเรียนจาก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2459
บรรทัด 68:
ท้าววนิดาพิจาริณี (หม่อมบาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) มีบุตรธิดา 3 คน ดังนี้
# '''[[หม่อมหลวงบัว กิติยากร|หม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์]]''' เสกสมรสกับ[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ|หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร]]) มีบุตรธิดา 4 คนดังนี้
## [[หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร]]
## [[หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร]]
## [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] (หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร)
## [[หม่อมราชวงศ์บุษบา สธนพงศ์]]
# '''พลโท นายแพทย์ [[หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์]]''' เสกสมรสกับท่านผู้หญิงเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (หงสนันทน์) มีบุตรธิดา 3 คนดังนี้