ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศเยอรมนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
โคโซโว→คอซอวอ
บรรทัด 270:
ประเทศเยอรมนีกับ[[ประเทศฝรั่งเศส]] มีบทบาทเป็นผู้นำของ[[สหภาพยุโรป]] และกำลังมุ่งหน้าสู่การรวมการเมืองการปกครองของแต่ละประเทศสมาชิก มาขึ้นกับสหภาพยุโรปมากขึ้น
 
หลังจากแพ้[[สงครามโลกครั้งที่ 2]]ในยุค[[นาซีเยอรมนี]] เยอรมนีพยายามไม่ยุ่งเกี่ยวกับความขัดแย้งทางการทหารของประเทศอื่นมากนัก พฤติกรรมนี้เริ่มเปลี่ยนแปลงใน [[พ.ศ. 2542]] เมื่อเยอรมนีตัดสินใจส่งทหารเข้าร่วม[[สงครามโคโซโวคอซอวอ]] เยอรมนีและฝรั่งเศสยังเป็นประเทศหลักที่คัดค้านการรุกราน[[ประเทศอิรัก]]ของ[[สหรัฐอเมริกา]] ใน [[พ.ศ. 2546]]
 
ปัจจุบัน เยอรมนีกำลังพยายามเข้าเป็นสมาชิกถาวรของ[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ]] เช่นเดียวกับ [[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] [[ประเทศอินเดีย|อินเดีย]] และ[[ประเทศบราซิล|บราซิล]]
บรรทัด 299:
[[ไฟล์:Fregatte Mecklenburg-Vorpommern F218.jpg|thumb|left|เรือรบBrandenburg-class frigate ของเยอรมัน]]
บทบาทของบุนเดสแวร์ได้มีการระบุไว้ในรัฐธรรมนูญของประเทศเยอรมนีว่าใช้ในการปกป้องและป้องกันเท่านั้น แต่หลังจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญของรัฐบาลกลางในปี 1994 ว่าการปกป้องนี้ไม่ได้หมายถึงแค่การปกป้องอาณาเขตและดินแดนของประเทศเยอรมนีเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงปฏิกิริยาหรือวิกฤติความขัดแย้งจากต่างประเทศหรือที่อื่นๆบนโลกที่อาจกว้างขึ้นจนอาจมีผลต่อความมั่นคงของประเทศเยอรมนีได้
ในเดือนมกราคมปี 2015 กองทัพเยอรมันมีกองกำลังประจำการอยู่ในต่างประเทศประมาณ 2,370นาย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกองกำลังรักษาความสงบระหว่างประเทศรวมถึงกองกำลังของบุนเดสแวร์เช่น ในกองทัพนาโต้ที่ปฏิบัติภารกิจใน[[ประเทศอิรัก]], [[ประเทศอัฟกานิสถาน]]และ[[ประเทศอุซเบกิสถาน]]จำนวน 850 นาย และทหารเยอรมันใน[[ประเทศโคโซโวคอซอวอ]] 670 นาย และกองกำลังร่วมด้วย UNIFIL ใน[[ประเทศเลบานอน]] 120 นาย<ref>{{cite web |url=http://www.bundeswehr.de/portal/a/bwde/einsaetze/einsatzzahlen?yw_contentURL=/C1256EF4002AED30/W264VFT2439INFODE/content.jsp |title=Einsatzzahlen&nbsp;– Die Stärke der deutschen Einsatzkontingente |accessdate=11 January 2015 |publisher=[[บุนเดซเวร์]]|language=German}}</ref>
 
จนในปี2011 การรับราชการทหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้ชายที่มีอายุ 18 ปีและมีหน้าที่รับราชการทหารเป็นเวลา 6 เดือน ส่วนผู้ที่ไม่อยากเป็นทหารสามารถเลือกเป็น Zivildienst (การบริการประชาชน) เป็นเวลา 6เดือนได้ หรืออาจเป็นทหารอาสา 6 ปี หรือการบริการฉุกเฉินเช่นแผนกดับเพลิงหรือกาชาด<ref>{{cite news |title= Germany to abolish compulsory military service |author= Connolly, Kate |url= https://www.theguardian.com/world/2010/nov/22/germany-abolish-compulsory-military-service |newspaper =The Guardian |date= 22 November 2010 |accessdate =7 April 2011}}</ref><ref>{{cite news |title = Marching orders for conscription in Germany, but what will take its place? |author =Pidd, Helen |url= https://www.theguardian.com/world/2011/mar/16/conscription-germany-army |newspaper =The Guardian |date =16 March 2011 |accessdate =7 April 2011}}</ref>