ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โมกษะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23:
{{โครง-ส่วน}}
คำว่า "โมกษะ" นั้นไม่ค่อยพบในศาสนาพุทธ แต่มีคำหนึ่งที่เทียบเตียงกันได้คือ "[[วิมุตติ]]"<ref>Gombrich, ''The Conditioned genesis of Buddhism'', chapter four: "How Insight Worstened Concentration"</ref>
 
== ศาสนาเชน ==
{{Main|โมกษะ (ศาสนาเชน)}}
ทั้ง "โมกษะ" และ "นิรวาน" (นิพพาน) คือคำที่มีความหมายเดียวกันในศาสนาเชนและเป็นคำเดียวกัน<ref name=pjaini>{{cite book | last =Jaini | first =Padmanabh | title =Collected Papers on Jaina Studies | publisher =Motilal Banarsidass Publ. | year =2000 | location =Delhi | isbn =81-208-1691-9 }}: ''"Moksa and Nirvana are synonymous in Jainism".'' p.168</ref><ref>Michael Carrithers, Caroline Humphrey (1991) ''The Assembly of listeners: Jains in society'' Cambridge University Press. {{ISBN|0521365058}}: ''"Nirvana: A synonym for liberation, release, moksa."'' p.297</ref> บางครั้งคัมภีร์เชนจะใช้คำว่า "[[เกวลญาณ]]" และเรียกวิญญาณที่หลุดพ้นว่า "เกวลิน"<ref name=pauldundastjp104/> ในศาสนาเชน โมกษะเป็นเป้าหมายที่สูงลิ่ว และให้นิยามโมกษะคือการหลุดพ้นเชิงจิตวิญญาณจากกรรมะทั้งปวง<ref name=pauldundastjp104>{{cite book|author= Paul Dundas|title=The Jains |url=https://books.google.com/books?id=X8iAAgAAQBAJ |year=2003|publisher= Routledge|isbn=978-0415266055 |pages= 104–105 }}</ref>
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โมกษะ"