ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอปราสาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 142:
 
== '''<small>เศษฐกิจ</small>''' ==
สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของอำเภอปราสาทอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี การกระจายความเจริญอยู่ในระดับปานกลาง สภาพคล่องทางเศรษฐกิจและเงินหมุนเวียนในระบบตลาดอยู่วัดที่ลำดับที่2ของจังหวัดสุรินทร์ (รองจากอำเภอเมืองสุรินทร์) การเจริญเติบโตด้านอุตสาหกรรมใน พ.ศ. 2552-2557 มีมูลค่าการลงทุนสะสมสูงเป็นอันดับ 1 ของจังหวัด ที่ 6พันล้านบาท
 
สาเหตุที่ทำให้อำเภอปราสาทมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจค่อนข้างดี เนื่องจากคณะรัฐมนตรีได้วางยุธศาสตร์ให้จังหวัดสุรินทร์เป็นหนึ่งในประตู่สู่อินโดจีนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางบกของอาเซียน อำเภอปราสาทมีที่ตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของเส้นทางการขนส่งที่มีถนนสายสำคัญผ่านสองสายคือ [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24]] (สีคิ้ว-เดชอุดม) และ[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214]] ทำให้อำเภอปราสาทอยู่ในฐานะที่เป็นดินแดนเชื่อมโยงของจังหวัดและของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งผลการลงทุนในอำเภอปราสาทขยายตัวอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ที่ตั้งของอำเภอปราสาทยังคงเสียเปรียบ[[อำเภอประโคนชัย]]และ[[อำเภอนางรอง]]ของ[[จังหวัดบุรีรัมย์]] เนื่องจากสองอำเภอดังกล่าวมีที่ตั้งที่สามารถเชื่อมต่อสู่[[ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออก]]ได้