ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเครียด (กลศาสตร์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Naecheewa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Naecheewa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
นอกเหนือจากนิยามที่กล่าวมายังมีการนิยามความเครียดหลายแบบ อาทิเช่น ''ความเครียดทางวิศวกรรม'' (engineering strain)ซึ่งมักจะใช้กับวัสดุที่ใช้ในเคลื่องกลและโครงสร้างทางวิศวกรรมซึ่งจะเปลี่ยนรูปร่างได้เพียงเล็กน้อย ในขณะที่วัสดุบางประเภท อาทิ อีลาสโตเมอร์และพอลิเมอร์สามารถเปลี่ยนรูปร่างได้เยอะ การใช้นิยามความเครียดทางวิศวกรรมนั้นอาจจะไม่เหมาะสมเมื่อวัตถุขยายขนาดมากกว่า 1% <ref name="rees" /> จึงต้องใช้นิยามแบบอื่น เช่น อัตราส่วนการยืด หรือ ความเครียดจริง
 
=== นิยามความเครียดทางวิศวกรรม ===
 
==== ความเครียดทางวิศวกรรม ====
'''ความเครียดทางวิศวกรรม''' (engineering strain หรือ Cauchy strain) คืออัตราส่วนระหว่างขนาดที่เปลี่ยนไปต่อขนาดตั้งต้น สำหรับวัตถุขนาดยาวตั้งต้น {{math|''L''}} ที่เปลี่ยนความยาว {{math|Δ''L''}} สามารถเขียนได้ว่า
 
เส้น 36 ⟶ 38:
การคำนวนความเครียดทางวิศวกรรมนั้นคำนวนได้ง่าย แต่บอกได้ถึงการเปลี่ยนแปลงขนาดโดยรวมเท่านั้น ไม่สามารถบอกถึงว่าวัตถุถูกเปลี่ยนแปลงรุปร่างผ่านขั้นตอนอะไร
 
==== อัตราส่วนความยืด ====
'''อัตราส่วนความยืด''' (stretch ratio หรือ extension ratio ) คือปริมาณที่บอกว่าวัตถุเปลี่ยนความยาวไปแค่ไหน ซึ่งนิยามจจากอัตราส่วนระหว่างความสุดท้าย {{mvar|l}} ต่อความยาวตั้งต้น {{math|''L''}}
 
เส้น 49 ⟶ 51:
อัตราส่วนความยืดนั้งมักถูกใช้ในการวิเคราะห์วัสดุที่เปลี่ยนรูปร่างขนาดใหญ่ อาทิเช่น [[อีลาสโตเมอร์]]หรือ[[ยาง]] ซึ่งสามารถเปลี่ยนขนาดได้ที่อัตราส่วน 3 หรือ 4 เท่า ก่อนที่มันจะเสียหาย ในทางตรงกันข้ามวัสดุทางวิศกรรมเช่น คอนกรีต หรือ เหล็กกล้า จะเสียหายที่อัตราส่วนที่ต่ำกว่ามาก
 
==== ความเครียดจริง ====
'''ความเครียดจริง''' (true strain or logarithmic strain) คำนวนจากการพิจารณาการเปลี่ยนแปลงความยาวเล็กน้อย {{math|𝛿''l''}} จากความยาว {{math|''l''}} ซึ่งทำให้เกิดความเครียดตั้งฉาก