ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จตุรเทพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vanloolai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Vanloolai (คุย | ส่วนร่วม)
ไวยากรณ์
บรรทัด 7:
 
หนังสือพิมพ์โอเรียนทัล เดลีนิวส์ (Oriental Daily News) ตั้งฉายานี้ขึ้นในปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) เพื่อยกย่องนักร้องชายฮ่องกง 4 คน ที่มีทั้งยอดขายแผ่นเสียง, ยอดจัดคอนเสิร์ต, ยอดขอเพลงจากรายการวิทยุสูงสุดในสมัยนั้น (อุตสาหกรรมเพลงป๊อปของเกาะฮ่องกง) ประกอบด้วย [[จาง เสฺวโหย่ว]] (Jacky Cheung) , [[หลิว เต๋อหัว]] (Andy Lau) , [[กัว ฟู่เฉิง]] (Aaron Kwok) และ [[หลี่ หมิง]] (Leon Lai) พวกเขาได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงและทรงอิทธิพลต่อวงการเพลงทั่วเอเชีย ในช่วงปี พ.ศ. 2535-2545 (1992-2002) ทั้งยังเป็นไอดอลของวัยรุ่นในยุคนั้นอีกด้วย <ref>
[http://gb.cri.cn/inet/other/sdtw.htm “สี่จตุรเทพฮ่องกง]</ref><ref>[http://hk.apple.nextmedia.com/enews/realtime/20151110/54411540 4จตุรเทพ รวมตัวอีกครั้ง?]</ref><ref>[https://www.youtube.com/watch?v=hJ83U8Mu_bA คอนเสิร์ตสี่จตุรเทพ]</ref><ref>[http://v.youku.com/v_show/id_XNDcwMjAyMzY=.html 《บทสัมภาษณ์》สี่หนุ่มใหญ่แห่งจตุรเทพ]</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 ( ค.ศ. 2004) มีการยกย่องศิลปินฝ่ายชาย เป็นนักร้องจตุรเทพ รุ่นใหม่ หรือ New Four Heavenly Kings ประกอบด้วย หลี เคอะฉิน (Hacken Lee) , สวี่ จื้ออัน (Andy Hui) , กู่ จี้จี้ (Leo Ku) และ เอ็ดมอนด์ เหลียง (Edmond Leung) วงการเพลงป๊อปฮ่องกง เรียกสั้นๆว่า กลุ่ม " Big Four " หมายเหตุ : สี่มหาเทวราช หรือ สี่ราชาสวรรค์ (จตุรเทพ) เป็นเทพเจ้าตามความเชื่อทางศาสนา เป็นเทพผู้พิทักษ์ประตูสวรรค์ 4 ทิศ ในพุทธศาสนาเรียกนามว่า [[จาตุมหาราชิกา|ท้าวจตุโลกบาล]]
==การก่อตั้งกลุ่ม==
วงการเพลงป๊อปของเกาะฮ่องกง (ภาษาอังกฤษ : '''Canto-pop''' ; ภาษาจีน : 粵語流行音樂 : ความหมายเต็ม : Cantonese pop music ) หรือ '''HK-pop''' (คำย่อจาก : Hong Kong pop music ) เริ่มต้นจากยุคทศวรรษที่ 20 (1920s to 1950s : Shanghai origins) ต่อเนื่องยาวนานมาถึงยุคทศวรรษที่ 60 ( 1960s : Cultural acceptance)
บรรทัด 13:
จนกระทั่งเข้าสู่ยุคทศวรรษที่ 70 ( 1970s : Beginning of the Golden Age : Rise of television and the modern industry ) ถือเป็นยุคก่อกำเนิดเพลงจีนกวางตุ้งแนวเพลงสากล และเป็นยุคทองของเพลงจีนจากละครซีรีส์ โดยเฉพาะเพลงจากซีรีส์ค่ายโทรทัศน์ทีวีบี(TVB) ศิลปินที่โด่งดังยุคนี้ นักร้องฝ่ายหญิง เช่น Liza Wang , Paula Tsui , Sandra Lang , Joseph Koo วงการเพลงป๊อปฮ่องกงให้ฉายาว่า " '''สี่ดอกไม้งามแห่งเพลงจีนกวางตุ้ง "''' (The Four Golden Flowers) , Jenny Tseng ฯลฯ นักร้องฝ่ายชาย เช่น Roman Tam เจ้าของฉายา Grand Godfather of Cantopop (เจ้าพ่อแห่งเพลงจีนกวางตุ้ง) , [[เจิ้ง เส้าชิว]] (Adam Cheng) , แซม ฮุย (Samuel Hui) , หลิน จื่อเสียง (George Lam) ฯลฯ ศิลปินกลุ่ม (Boy band , Girl group) เช่น Lotus , [[เดอะวินเนอร์ส|The Wynners]] (เดอะ วินเนอร์) เป็นต้น
 
ยุคทศวรรษที่ 80 ถือเป็นยุคทองของวงการเพลงป๊อปฮ่องกง (1980s : The Golden Age of Cantopop) เป็นยุคที่วงการเพลงป๊อปฮ่องกง โด่งดังและเป็นที่ยอมรับในระดับเอเชีย มีนักร้องโด่งดังถึงขีดสุดทั่วเอเชีย อย่างเช่น วง The Wynners (เดอะ วินเนอร์) , วง Beyond (บิ ยอนด์) นักร้องฝ่ายชาย เช่น [[อลัน ทัม]] (Alan Tam) , [[เลสลี จาง|เลสลี่ จาง]] (Leslie Cheung) , เฉิน ไปเฉียง (Danny Chan) ฯลฯ นักร้องฝ่ายหญิง เช่น [[เหมย ยั่นฟาง|เหมย เยี่ยนฟาง]] (Anita Mui) , Sally Yeh , Priscilla Chan , Sandy Lam ฯลฯ ศิลปินนักร้องที่โด่งดังข้ามยุคอีกหลายคน เช่น Paula Tsui , แซม ฮุย (Samuel Hui) เจ้าของฉายา God of Song คนที่ 1 ของเกาะฮ่องกง , หลิน จื่อเสียง (George Lam) , Jenny Tseng เป็นต้น
 
เข้าสู่ยุคทศวรรษที่ 90 ศิลปินนักร้องชื่อดังจากยุค 80s- ความนิยมเริ่มจางหายจากวงการเพลงป๊อปฮ่องกง มีศิลปินนักร้องคนใหม่ได้รับความนิยมขึ้นมาแทนที่ศิลปินจากยุค 80s- นักร้องฝ่ายชาย เช่น หลิว เต๋อหัว (Andy Lau) , จาง เซียะโหย่ว (Jacky Cheung) เจ้าของฉายา God of Song คนที่ 2 ของเกาะฮ่องกง , หลี่ หมิง (Leon Lai) , กัว ฟู่เฉิง (Aaron Kwok) , หลี เคอะฉิน (Hacken Lee) , สวี่ จื้ออัน (Andy Hui) ฯลฯ นักร้องฝ่ายหญิง เช่น Sally Yeh , [[โจว ฮุ่ยหมิ่น]] (Vivian Chow) , Cass Phang , [[เฉิน ฮุ่ยหลิน]] (Kelly Chen) , เจิ้ง ซิ่วเหวิน (Sammi Cheng) , [[หวัง เฟย์เฟย์|หวัง เฟย]] (Faye Wong) เป็นต้น
 
ในปี พ.ศ. 2533 [[หลิว เต๋อหัว]] (Andy Lau) นักแสดงยอดนิยมแห่งวงการภาพยนตร์ เริ่มประสบความสำเร็จในผลงานเพลง คว้ารางวัลนักร้องยอดนิยมประจำปี 1990 มาครองได้สำเร็จ ในปี พ.ศ. 2534 [[จาง เสฺวโหย่ว|จาง เซียะโหย่ว]] (Jacky Cheung) นักร้องดาวรุ่งจากยุค 80s- ประสบความสำเร็จในผลงานเพลงเป็นอย่างมาก คว้ารางวัลนักร้องยอดเยี่ยมแห่งปี 1991 , รางวัลเพลงยอดนิยมประจำปี 1991 มาครอง ในปีเดียวกัน [[หลี่ หมิง]] (Leon Lai) นักร้องประกวดจากยุค 80s- แต่กลับโด่งดังในฐานะนักแสดงค่ายสถานีโทรทัศน์ทีวีบี ออกอัลบั้มเพลง " Its Love. Its Destiny " ฮิตถล่มทลายติดอันดับอัลบั้มขายดี ประจำปี 1991 , ได้รับรางวัลนักร้องยอดนิยม (เหรียญเงิน) ประจำปี 1991 อีกด้วย ในปี พ.ศ. 2535 [[กัว ฟู่เฉิง]] (Aaron Kwok) อดีตนักเต้น (แดนซ์เซอร์) และนักแสดงค่ายสถานีโทรทัศน์ทีวีบี ออกอัลบั้มเพลงแนวป๊อปแดนซ์ ประสบความสำเร็จโด่งดังมาก มีท่าเต้นที่โดดเด่นจนเป็นกระแสไปทั่วเกาะฮ่องกง หนังสือพิมพ์ โอเรียนทัล เดลินิวส์ รายงานข่าวบันเทิงประจำปี 2535 (ค.ศ.1992) พบว่านักร้องฝ่ายชายทั้ง 4 คนดังกล่าว มียอดขายแผ่นเสียง , ยอดจัดคอนเสิร์ต , ยอดขอเพลงจากรายการวิทยุสูงสุด หรือ มีการตลาดของอุตสาหกรรมเพลงป๊อปฮ่องกงสูงที่สุดในรอบปี จึงตั้งฉายาให้พวกเขาว่า "'''4 เทพ แห่งเพลงจีนกวางตุ้ง'''" หรือ มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า " The Four Heavenly King of Canto - pop" เปรียบเปรยพวกเขาทั้ง 4 คน เป็นนักร้องมือถือไมค์ ไฟส่องหน้า อยู่บนเวทีคอนเสิร์ต ประดุจเทพเจ้าเจิดจรัสบนฟากฟ้า รวมตัวกันเป็นกลุ่ม "นักร้องจตุรเทพ" ที่โด่งดังและทรงอิทธิพลต่อวงการเพลงทั่วเอเชีย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จาง เซียะโหย่ว (Jacky Cheung) และ หลิว เต๋อหัว (Andy Lau) เป็นนักร้องจากเอเชียที่ได้รับความนิยมสูงสุดติดอันดับ 1 ใน 25 Billboard (บิลบอร์ดชาร์ต) ของสหรัฐอเมริกาอีกด้วย วงการเพลงป๊อปฮ่องกง เรียกยุคทศวรรษที่ 90 นี้ว่า ยุค 4 ราชาเพลงจีน 1990s : Four Heavenly Kings era
 
ยุคปี 2000 เรียกยุคนี้ว่า 2000s : New era มีศิลปินนักร้องหน้าใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย นักร้องฝ่ายชาย เช่น Nicholas Tse , Stephy Tang , Kary Ng , Kenny Kwan , เฉิน อวี้ชัน (Eason Chan) เจ้าของฉายา God of Song คนที่ 3 ของเกาะฮ่องกง ฯลฯ นักร้องฝ่ายหญิง เช่น Renee Li , Coco Lee , Joey Yung ฯลฯ ศิลปินกลุ่ม เช่น สองสาว Girl group วงทวินส์ (Twins) เป็นต้น ในปี 2004 มีการยกย่องศิลปินนักร้องฝ่ายชาย ในนาม "New Four Heavenly Kings" หรือ จตุรเทพ แห่งเพลงจีน รุ่น 2000ใหม่ ประกอบด้วย หลี เคอะฉิน (Hacken Lee) , สวี่ จื้ออัน (Andy Hui) , กู่ จี้จี้ (Leo Ku) , เอ็ดมอนด์ เหลียง (Edmond Leung) วงการเพลงป๊อปฮ่องกง เรียกสั้นๆว่า กลุ่ม " Big Four " และเรียกยุคนี้ว่า 2000s : New era
หนังสือพิมพ์ โอเรียนทัล เดลีนิวส์ รายงานข่าวบันเทิงประจำปี 1992 พบว่านักร้องฝ่ายชายทั้ง 4 คนดังกล่าว มียอดขายแผ่นเสียง , ยอดจัดคอนเสิร์ต , ยอดขอเพลงจากรายการวิทยุสูงสุด หรือ มีการตลาดของอุตสาหกรรมเพลงป๊อปฮ่องกงสูงที่สุดในรอบปี จึงตั้งฉายาให้พวกเขาว่า "'''4 เทพ แห่งเพลงจีนกวางตุ้ง'''" หรือ มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า " The Four Heavenly King of Canto - pop" เปรียบเปรยพวกเขาทั้ง 4 คน เป็นนักร้องมือถือไมค์ ไฟส่องหน้า อยู่บนเวทีคอนเสิร์ต ประดุจเทพเจ้าเจิดจรัสบนฟากฟ้า มารวมตัวกันเป็นกลุ่ม "นักร้องจตุรเทพ" ที่โด่งดังและทรงอิทธิพลต่อวงการเพลงทั่วเอเชีย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จาง เซียะโหย่ว (Jacky Cheung) และ หลิว เต๋อหัว (Andy Lau) เป็นนักร้องจากเอเชียที่ได้รับความนิยมสูงสุดติดอันดับ 1 ใน 25 Billboard (บิลบอร์ดชาร์ต) ของสหรัฐอเมริกาอีกด้วย และวงการเพลงป๊อปฮ่องกง เรียกยุคทศวรรษที่ 90 นี้ว่า ยุค 4 ราชาเพลงจีน 1990s : Four Heavenly Kings era
 
ยุคปี 2000 เรียกยุคนี้ว่า 2000s : New era มีศิลปินนักร้องใหม่ๆ มากมาย นักร้องฝ่ายชาย เช่น Nicholas Tse , Stephy Tang , Kary Ng , Kenny Kwan , เฉิน อวี้ชัน (Eason Chan) เจ้าของฉายา God of Song คนที่ 3 ของเกาะฮ่องกง ฯลฯ นักร้องฝ่ายหญิง เช่น Renee Li , Coco Lee , Joey Yung ฯลฯ ศิลปินกลุ่ม เช่น สองสาววงทวินส์ Twins เป็นต้น ในปี 2004 มีการยกย่องศิลปินนักร้องฝ่ายชาย ในนาม "New Four Heavenly Kings" หรือ จตุรเทพ แห่งเพลงจีน รุ่น 2000 ประกอบด้วย หลี เคอะฉิน (Hacken Lee) , สวี่ จื้ออัน (Andy Hui) , กู่ จี้จี้ (Leo Ku) , เอ็ดมอนด์ เหลียง (Edmond Leung) วงการเพลงป๊อปฮ่องกง เรียกสั้นๆว่า กลุ่ม " Big Four "
 
== เทพ ==