ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จตุรเทพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vanloolai (คุย | ส่วนร่วม)
ไวยากรณ์
Vanloolai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
หนังสือพิมพ์ โอเรียนทัล เดลีนิวส์ รายงานข่าวบันเทิงประจำปี 1992 พบว่านักร้องฝ่ายชายทั้ง 4 คนดังกล่าว มียอดขายแผ่นเสียง , ยอดจัดคอนเสิร์ต , ยอดขอเพลงจากรายการวิทยุสูงสุด หรือ มีการตลาดของอุตสาหกรรมเพลงป๊อปฮ่องกงสูงที่สุดในรอบปี จึงตั้งฉายาให้พวกเขาว่า "'''4 เทพ แห่งเพลงจีนกวางตุ้ง'''" หรือ มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า " The Four Heavenly King of Canto - pop" เปรียบเปรยพวกเขาทั้ง 4 คน เป็นนักร้องมือถือไมค์ ไฟส่องหน้า อยู่บนเวทีคอนเสิร์ต ประดุจเทพเจ้าเจิดจรัสบนฟากฟ้า มารวมตัวกันเป็นกลุ่ม "นักร้องจตุรเทพ" ที่โด่งดังและทรงอิทธิพลต่อวงการเพลงทั่วเอเชีย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จาง เซียะโหย่ว (Jacky Cheung) และ หลิว เต๋อหัว (Andy Lau) เป็นนักร้องจากเอเชียที่ได้รับความนิยมสูงสุดติดอันดับ 1 ใน 25 Billboard (บิลบอร์ดชาร์ต) ของสหรัฐอเมริกาอีกด้วย และวงการเพลงป๊อปฮ่องกง เรียกยุคทศวรรษที่ 90 นี้ว่า ยุค 4 ราชาเพลงจีน 1990s : Four Heavenly Kings era
 
ยุคปี 2000 เรียกยุคนี้ว่า 2000s : New era มีศิลปินนักร้องใหม่ๆ มากมาย นักร้องฝ่ายชาย เช่น Nicholas Tse , Stephy Tang , Kary Ng , Kenny Kwan , Edisonเฉิน Chenอวี้ชัน (Eason Chan) เจ้าของฉายา God of Song คนที่ 3 ของเกาะฮ่องกง ฯลฯ นักร้องฝ่ายหญิง เช่น Renee Li , Coco Lee , Joey Yung ฯลฯ ศิลปินกลุ่ม เช่น สองสาววงทวินส์ Twins เป็นต้น ในปี 2004 มีการยกย่องศิลปินนักร้องฝ่ายชาย ในนาม "New Four Heavenly Kings" หรือ จตุรเทพ แห่งเพลงจีน รุ่น 2000 ประกอบด้วย หลี เคอะฉิน (Hacken Lee) , สือ จื้ออัน (Andy Hui) , Leo Ku , Edmond Leung วงการเพลงป๊อปฮ่องกง เรียกสั้นๆว่า กลุ่ม " Big Four "
 
== เทพ ==