ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน้าต่างกุหลาบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gereon K. (คุย | ส่วนร่วม)
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 12:
ในศิลปะสมัย[[ศาสนาคริสต์ยุคแรก]] และ[[สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์]]มีตัวอย่างของการก่อสร้างลักษณะนี้ ซึ่งมักจะตั้งอยู่ตรงศูนย์กลางของโดมเช่นที่โบสถ์ Holy Sepulchre ที่กรุง[[เยรูซาเลม]] หรือบนจั่วตื้นแบบ[[สถาปัตยกรรมคลาสสิก]] เช่นที่โบสถ์นักบุญแอกเนสนอก[[กำแพง]] (Saint Agnes Outside the Walls) หรือที่มหาวิหารตอร์เชลโล (Torcello Cathedral) ที่ [[เวนิส]]<ref>Bannister Fletcher, ''History of Architecture on the Comparative Method'' (ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมโดยการเปรียบเทียบ) </ref>
 
หน้าต่างที่สร้างเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 8 ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่เมืองเวนิสนั้นเจาะจากหินแผ่นเดียว หรือหน้าต่างครึ่งวงกลมที่แบ่งเป็นช่องๆช่อง ๆ ที่ทำในคริสต์ศตวรรษที่ 8 และหน้าต่างที่ทำต่อมาภายหลังที่[[ประเทศกรีซ]]ยังพอมีหลงเหลือให้ดูอยู่บ้าง<ref>Bannister Fletcher</ref>
 
หน้าต่างกลมเล็ก เช่น ที่โบสถ์นักบุญแอกเนสนอกกำแพงและมหาวิหารตอร์เชลโล และหน้าต่างที่ใช้ตกแต่งด้วยกระจกด้านภายในหน้าต่างกลมที่เว้าลึกเข้าไปในผนังยังคงทำกันต่อมาในการสร้างโบสถ์ที่ประเทศอิตาลีจนมารุ่งเรืองเอาเมื่อสมัย[[สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์|โรมาเนสก์]]
 
อีกประการหนึ่งที่ทำให้การสร้างหน้าต่างกลมมีความนิยมขึ้นใน[[ทวีปยุโรป]] ตามการ[[สันนิษฐาน]]โดยนักประวัติศาสตร์[[ชาวเยอรมนี]]อ็อตโต ฟอน ซิมสัน (Otto von Simson) ผู้กล่าวว่าหน้าต่างกลมมีรากฐานมาจากหน้าต่างรูปแปดเหลี่ยมที่ตกแต่งผนังภายนอกของ[[ปราสาท]]อุมเมยัด (Umayyad palace) ที่ [[ประเทศจอร์แดน]] ระหว่างปี ค.ศ. 740 ถึงปี ค.ศ. 750 ตาม[[ทฤษฎี]]แล้วผู้ที่นำการสร้างหน้าต่างลักษณะนี้เข้ามาในทวีปยุโรป คือผู้ที่กลับมาจาก[[สงครามครูเสด]]โดยนำมาใช้ในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถาน{{อ้างอิง}}