ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎บัวควีนสิริกิติ์: ปรับตัวเลข
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ตัวเลข เคาะวรรค
บรรทัด 3:
บัว ได้รับการขนานนามให้เป็น '''"ราชินีแห่งไม้น้ำ"''' เป็นพืชน้ำล้มลุกที่มีทั้งลักษณะลำต้นที่เป็นหัว เหง้า หรือไหล ใบเป็นใบเดี่ยวเจริญขึ้นจากลำต้นโดยมีก้านใบส่งขึ้นมาเจริญที่ใต้น้ำ ผิวน้ำ หรือเหนือน้ำ รูปร่างของใบส่วนใหญ่กลมมีหลายแบบ บางชนิดมีก้านใบบัว
 
บัว ถือเป็นสัญลักษณ์ของคุณงามความดี ความเชื่อมีมาตั้งแต่ [[สมัยพุทธกาล]] ซึ่งมีตำนานกล่าวว่า หมอชีวกโกมารภัจจ์ได้ปรุงยาจากดอกบัว ถวายแด่ องค์สมเด็จพระพุทธเจ้า แก้อาการอ่อนเพลีย ถือว่าดอกบัวเป็น ดอกไม้ประจำศาสนาพุทธตามพุทธประวัติพบว่า บัวมีส่วนเกี่ยวข้องตั้งแต่ เมื่อพระพุทธเจ้าประสูตติประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพานปรินิพพาน เมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเมื่อ ได้ทรงตรัสรู้แล้ว แต่เนื่องจากพระธรรมที่พระองค์ทรงบรรลุนั้นมีความละเอียดอ่อน สุขุมคัมภีรภาพ ยากต่อบุคคลจะรู้ เข้าใจและปฏิบัติได้ ทรงพิจารณาอย่างลึกซึ้ง แล้วทรงเห็นว่าบุคคลในโลกนี้มีหลายจำพวก บางพวกสอนได้ บางพวกสอนไม่ได้ เปรียบเสมือนบัวสี่เหล่า<ref>https://thipsuda.wordpress.com/ความรู้เกี่ยวกับบัว/ประวัติความเป็นมาของบั/</ref>
 
==ความเป็นมาของบัว==
บรรทัด 9:
 
==นิยามของราชินีแห่งไม้น้ำ==
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔2554 ได้ให้นิยามของคำว่า "บัว" ไว้ว่า บัวเป็นคำ น. ชื่อเรียกไม้นํ้าหลายชนิดหลายสกุลและหลายวงศ์ คือ ในสกุล [[Nelumbo]] วงศ์ [[Nelumbonaceae]] มีเหง้ายาวทอดอยู่ในตม ใบเป็นแผ่นกลม ขอบเรียบ อยู่ห่าง ๆ กัน ก้านใบและก้านดอกแข็ง มีหนามสากคาย ชูใบและดอกขึ้นพ้นผิวนํ้า เช่น [[สกุลบัวหลวง]] (N. nucifera Gaertn.) ดอกสีขาวหรือชมพู กลิ่นหอม, ปัทม์ ก็เรียก, พันธุ์ดอกป้อมสีขาว เรียก "[[สัตตบุษย์]]" พันธุ์ดอกป้อมสีชมพู เรียก "[[สัตตบงกช]]" ดอกใช้ในงานพิธีต่าง ๆ เมล็ดกินได้, ใน[[สกุลบัวสาย]] [[Nymphaea]] วงศ์ [[Nymphaeaceae]] มีเหง้าสั้นอยู่ในตม ใบเป็นแผ่นกลม ขอบเรียบหรือจัก อยู่ชิดกันเป็นกระจุก ก้านใบและก้านดอกอ่อนไม่มีหนาม ใบลอยอยู่บนผิวนํ้า ดอกโผล่ขึ้นพ้นผิวนํ้า ผลจมอยู่ในนํ้าเรียก โตนด เช่น [[บัวสาย]] (N. lotus L. var. pubescens Hook.f. et Thomson) ขอบใบจัก ดอกสีขาวหรือแดง ก้านดอกเรียก สายบัว กินได้ พันธุ์ดอกสีขาว เรียก "[[สัตตบรรณ]]" [[บัวเผื่อน]] (N. nouchaliBurm.f.) ขอบใบเรียบ ดอกสีม่วงอ่อน, ใน [[สกุลวิคตอเรีย]] [[Victoria]] วงศ์ [[Nymphaeaceae]] เช่น [[บัวขอบกระด้ง]]หรือ[[บัววิกตอเรีย]] [V. amazonica (Poeppig) Sowerby] มีเหง้าสั้นอยู่ในตม ใบเป็นแผ่นกลมใหญ่ ขอบยกขึ้นคล้ายกระด้ง ลอยอยู่บนผิวนํ้า ใต้ใบ ก้านดอก และด้านนอกของกลีบดอกชั้นนอกมีหนามแหลม ดอกใหญ่ สีขาว หอมมาก<ref>http://www.royin.go.th/dictionary//</ref>
 
==วงศ์และสกุล==
บรรทัด 44:
– บัววิกตอเรีย สายพันธุ์อังกฤษ ([[:En:Victoria cruziana]]) เป็นสายพันธุ์ที่มีขนาดเล็กกว่า คือมีเส้นผ่านสูนย์กลางราว 1.5 เมตร แต่มีขอบกระด้งสูงราว 1 คืบ ออกดอกในช่วงปลาย[[ฤดูร้อน]]ต่อต้น[[ฤดูฝน]] คือ ในเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนมิถุนายน
 
ในจำนวนบัวทั้งหมด บัวหลวงนับเป็นบัวที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและเกษตรกรปลูกมากที่สุด โดยมีวัตถุประสงค์ของการปลูกที่สำคัญ 2 ประการ คือ ปลูกเพื่อตัดดอกตูม ซึ่งนำไปใช้บูชาพระ และปลูกเพื่อเก็บเมล็ด ซึ่งสามารถใช้ประกอบอาหารทั้งอาหารคาวและอาหารหวาน นอกจากนี้ส่วนอื่นๆของบัวหลวง ก็ยังสามารถจำหน่ายและใช้ประโยชน์อื่นๆอื่น ๆ ได้ เช่น ใบแห้ง ใช้ทำยากันยุง มวนบุหรี่ ต้มเป็นยาบำรุงหัวใจ แก้ไข้ และรักษาโรคตับ ใบสด ใช้ห่ออาหาร และไหลหรือราก สามารถนำมาเชื่อมเป็นอาหารหวาน มีสรรพคุณแก้ร้อนใน และระงับอาการท้องร่วง<ref>https://pattize.wordpress.com/พิพิธภัณฑ์บัว/ชนิดของดอกบัว/</ref>
 
==ลักษณะทางพฤกษศาสตร์==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/บัว"