ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความดันโลหิตสูง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 26:
 
== อาการและอาการแสดง ==
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมักไม่มีอาการใดๆใด ๆ ส่วนใหญ่มักตรวจพบจากการตรวจคัดโรค หรือเมื่อมาพบแพทย์ด้วยปัญหาอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง เช่น ตรวจโรคทั่วไป ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวนหนึ่งมักบอกว่ามีอาการ[[ปวดศีรษะ]]โดยเฉพาะบริเวณ[[ท้ายทอย]]ในช่วงเช้า [[เวียนศีรษะ]] [[อาการรู้สึกหมุน|รู้สึกหมุน]] [[เสียงในหู|มีเสียงหึ่ง ๆ ในหู]] หน้ามืดหรือ[[หมดสติชั่วคราว|เป็นลม]]<ref name=Fisher2005>{{cite book |author=Fisher ND, Williams GH |editor=Kasper DL, Braunwald E, Fauci AS, ''et al.'' |title=Harrison's Principles of Internal Medicine|edition=16th |year=2005 |publisher=McGraw-Hill |location=New York, NY |isbn=0-07-139140-1 |pages=1463–81 |chapter=Hypertensive vascular disease}}</ref> อย่างไรก็ตามอาการดังกล่าวอาจสัมพันธ์กับ[[ความวิตกกังวล]]มากกว่าจากความดันเลือดสูงเอง<ref name=Stress2012/>
 
ในการตรวจร่างกาย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงอาจสัมพันธ์กับการมีการเปลี่ยนแปลงใน[[ก้นตา]]เห็นได้จาก[[การส่องตรวจในตา]] (ophthalmoscopy)<ref name=Wong2007>{{cite journal |author=Wong T, Mitchell P |title= |journal=Lancet |volume=369 |issue=9559 |pages=425–35 |year=2007 |month=February |pmid=17276782 |doi=10.1016/S0140-6736 (07) 60198-6}}</ref> ความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงที่ตรงแบบของโรคจอตาเหตุความดันโลหิตสูงมีการแบ่งเกรดตั้งแต่ 1–4 เกรด 1 และ 2 อาจแยกได้ยาก ความรุนแรงของโรคจอตาสัมพันธ์อย่างหยาบ ๆ กับระยะเวลาและ/หรือความรุนแรงของความดันโลหิตสูง<ref name=Fisher2005/>
บรรทัด 53:
| เกิดจากจิตใจ, [[กลุ่มอาการไดเอนเซฟาลิก]], [[ประสาทอัตโนมัติทำงานผิดปกติที่เป็นกันในครอบครัว]], [[เส้นประสาทอักเสบหลายเส้น]] ([[พอร์ไฟเรีย]]เฉียบพลัน, [[ภาวะพิษตะกั่ว]]), [[ความดันในกะโหลกศีรษะ]]เพิ่มขึ้นเฉียบพลัน, ไขสันหลังถูกตัดขาดเฉียบพลัน
|-
| ต่อมไร้ท่ออื่นๆอื่น ๆ
| [[ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย|ต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย]], [[ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกิน|ต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกิน]], [[ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง|แคลเซียมในเลือดสูง]], [[สภาพโตเกินไม่สมส่วน]]
|-
บรรทัด 67:
=== ความดันโลหิตสูงวิกฤต ===
{{บทความหลัก|ความดันโลหิตสูงวิกฤต}}
ภาวะที่ความดันเลือดขึ้นสูงมาก(hypertensive crisis) ซึ่งที่ระดับความดันเลือดดังกล่าวมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ ผู้ป่วยที่ความดันโลหิตสูงระดับนี้อาจไม่มีอาการ หรือมีรายงานว่าปวดศีรษะ (ราวร้อยละ 22) <ref>{{cite journal |author=Papadopoulos DP, Mourouzis I, Thomopoulos C, Makris T, Papademetriou V |title=Hypertension crisis |journal=Blood Press. |volume=19 |issue=6 |pages=328–36 |year=2010 |month=December |pmid=20504242 |doi=10.3109/08037051.2010.488052 |url=}}</ref> และเวียนศีรษะมากกว่าประชากรทั่วไป<ref name=Fisher2005/> อาการอื่นๆอื่น ๆ ที่เกิดร่วมกับภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต เช่น ตาพร่า มองภาพไม่ชัด หรือหายใจเหนื่อยหอบจาก[[หัวใจล้มเหลว]] หรือ[[ความละเหี่ย|รู้สึกไม่สบายตัว]]เนื่องจากไตวาย<ref name="ABC" /> ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงวิกฤตส่วนใหญ่ทราบอยู่แล้วว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง แต่มีสิ่งกระตุ้นเข้ามาทำให้ความดันเลือดสูงขึ้นทันที<ref name=Marik2007>{{cite journal |author=Marik PE, Varon J |title=Hypertensive crises: challenges and management |journal=Chest |volume=131 |issue=6 |pages=1949–62 |year=2007 |month=June |pmid=17565029 |doi=10.1378/chest.06-2490 |url=http://chestjournal.chestpubs.org/content/131/6/1949.long}}</ref> ความดันโลหิตสูงวิกฤตแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน (hypertensive emergency) และความดันโลหิตสูงเร่งด่วน (hypertensive urgency) ซึ่งต่างกันตรงที่มีอาการแสดงของอวัยวะถูกทำลายหรือไม่
 
'''ความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน''' (hypertensive emergency) เป็นภาวะที่วินิจฉัยเมื่อมีความดันโลหิตสูงอย่างรุนแรงจนอวัยวะตั้งแต่ 1 อย่างขึ้นไปถูกทำลาย ตัวอย่างเช่น [[โรคสมองจากความดันโลหิตสูง]] (hypertensive encephalopathy) เกิดจากสมองบวมและเสียการทำงาน จะมีอาการปวดศีรษะและ[[การเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว|ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง]] เช่น ซึม สับสน อาการแสดงของอวัยวะเป้าหมายถูกทำลายที่ตา ได้แก่ [[จานประสาทตาบวม]] (papilloedema) และ/หรือมีเลือดออกและของเหลวซึมที่ก้นตา อาการ[[เจ็บหน้าอก]]อาจแสดงถึง[[กลุ่มอาการหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน|กล้ามเนื้อหัวใจเสียหาย]]ซึ่งอาจดำเนินต่อไปเป็น[[กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด|กล้ามเนื้อหัวใจตาย]]หรือ[[การฉีกเซาะของเอออร์ตา|เกิดการฉีกเซาะของผนังหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตา]] อาการ[[หายใจลำบาก]] ไอ เสมหะมีเลือดปนเป็นอาการแสดงของ[[ปอดบวมน้ำ]] (pulmonary edema) เนื่องจาก[[ภาวะหัวใจวาย|หัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว]] กล่าวคือหัวใจห้องล่างซ้ายไม่สามารถสูบฉีดเลือดจากปอดไปยังระบบหลอดเลือดแดงได้เพียงพอ<ref name=Marik2007/> อาจเกิด[[ไตเสียหายเฉียบพลัน]] และ[[โลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกชนิดไมโครแองจีโอพาติก]] (การทำลายเม็ดเลือดแดงชนิดหนึ่ง) <ref name=Marik2007/> เมื่อเกิดภาวะนี้จำเป็นต้องรีบลดความดันโลหิตเพื่อหยุดยั้งความเสียหายของอวัยวะเป้าหมาย<ref name=Marik2007/>
 
ในทางตรงข้ามหากผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูงกว่า 180/100 มิลลิเมตรปรอทแต่ไม่พบความเสียหายของอวัยวะเป้าหมายจะเรียกภาวะนี้ว่า '''ความดันโลหิตสูงเร่งด่วน''' (hypertensive urgency) ยังไม่มีหลักฐานยืนยันถึงความจำเป็นต้องรีบลดความดันโลหิตในผู้ป่วยกลุ่มนี้หากไม่มีการทำลายอวัยวะ และการลดความดันโลหิตอย่างรวดเร็วก็ไม่ได้ปราศจากความเสี่ยง<ref name="ABC" /> ในภาวะนี้สามารถค่อยๆค่อย ๆ ลดความดันโลหิตลงด้วยยาลดความดันชนิดรับประทานให้กลับสู่ระดับปกติใน 24 ถึง 48 ชั่วโมง<ref name=Marik2007/>
 
=== ในสตรีตั้งครรภ์ ===