ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาผู้ไท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 104:
 
ภาษาผู้ไทมีลักษณะเด่นอยู่ 7 ประการดังนี้
1. พยัญชนะ "ข,ฆ" /k/ ในภาษาไทยและลาว-อีสานบางคำ ออกเสียงเป็น ห, ฮ /h/ เช่น
{| class="wikitable"
*แขน = แหน
!ภาษาไทย
*ขน = หน
!ภาษาภูไท
*ขา = หา
!ภาษาไทย
*ฆ่า = ฮ่า
!ภาษาภูไท
*เข็ม = เห็ม
!ภาษาไทย
*เข้า = เห้า
!ภาษาภูไท
*ข้าว = เห้า
!ภาษาไทย
*ขาด = หาด
!ภาษาภูไท
*ขัน = หัน (ขันน็อต,ไก่ขัน)
!ภาษาไทย
*ขอด (มัด) = หอด
!ภาษาภูไท
*เขี้ยว (ฟัน) = แห้ว
|-
*ขัดข้อง (ยุ่งเหยิง) = ห้อง
|แขน
*ของ = หอง
|แหน
*ขึ้น = หึ้น
|เข็ม
*เขียง = เหง
|เห็ม
*ข้อมือ,ข้อเท้า = ห้อมือ, ห้อตีน
|ขัน (ขันน๊อต)
*ขาย = หาย
|หัน
*ขอน = หอน
|ขา
*เขา (เขาสัตว์) = เหา
|หา
 
|ของ
|หอง
|-
|ขน
|หน
|เข้า
|เห้า
|ขอด
|ฮอด
|ขอน (ขอนไม้)
|หอน
|ขึ้น
|หึ้น
|-
|ฆ่า
|ฮ่า
|ขาด
|ฮาด
|เขี้ยว (ฟัน)
|แห้ว
|ขัดข้อง (ยุ่งเหยิง)
|ห้อง
|ข้อ
|ห้อ
|-
|ขาย
|หาย
|เขา (สัตว์)
|เหา
|เขียว
|แหว
|ขาว
|หาว
|
|
|}
2. เสียงสระ "ใ" ออกเสียงเป็น "เออ" และสระ "ไ" บางคำก็ออกเสียงเป็น "เออ" เช่น
{| class="wikitable"
เส้น 173 ⟶ 209:
|}
3. ภาษาผู้ไทใช้แต่เพียงสระเดี่ยว ไม่มีสระผสม เช่นเดียวกับภาษาลื้อ ไตขืน เช่น
{| class="wikitable"
*ผัว = โผ
!ภาษาไทย
*ห้วย = โห้ย
!ภาษาภูไท
*ตัว = โต,กะโต,ตนโต,คีง
!ภาษาไทย
*ชั่ว = โซ่,โซ้
!ภาษาภูไท
*เมีย = เม
!ภาษาไทย
*เมี่ยง = เม่ง
!ภาษาภูไท
*เขี่ย = เขว่
!ภาษาไทย
*เขียด = เขวด
!ภาษาภูไท
*เขียน = เขน
!ภาษาไทย
*เกวียน = เกน
!ภาษาภูไท
*เรียน = เฮน
|-
*เลี้ยว = เล้ว
|เขียด
*มะเขือ = มะเขอ
|เควด
*เรือ = เฮอ
|เรือ
*เหงื่อ = เห่อ
|เฮอ
*ชวน = โซน, โซ
|เรียน
|เฮน, สอน
|บ่วง (ช้อน)
|โบง
|ม้วน
|โม้น
|-
|เกวียน
|เกว๋น
|สวน
|โสน
|เขี่ย
|เคว
|เลี้ยว
|เล้ว
|เมีย
|เม
|-
|เหยียบ
|เยบ
|เงื่อน
|เงิ้น
|เปลื้อน
|เปิ้น
|หนวด
|โนด
|ผัว
|โผ
|}
 
4. คำที่ใช้สระเสียงยาวแล้วสะกดด้วย "ก" จะเปลี่ยนเป็นสระเสียงสั้น ไม่ออกเสียง "ก" เช่นเดียวกับภาษาไทถิ่นใต้ฝั่งตะวันตก และภาษาไทดำ ไทขาว พวน เช่น