ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำมันหอมระเหย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 13:
===รูปแบบการกลั่น===
มี 3 วิธีย่อย
 
1. การกลั่นโดยใช้ไอน้ำ (steam distillation) โดย การนำพืชที่ต้องการน้ำมันหอมระเหย วางไว้ในหม้อกลั่นที่ด้านล่างมีน้ำ จากนั้นต้มน้ำ ไอท่ที่เกิดขึ้นจะวิ่งผ่านพืชที่วางไว้ด้านบน ทำให้น้ำมันหอมระเหยในพืช ระเหยออกมารวมกับไอน้ำ จากนั้นให้ไอน้ำวิ่งผ่านท่อ จนถึง [[เครื่องควบแน่น]] (condenser) เพื่อทำให้เย็นลง แล้วกลั่นตัวลงมา ตกลงในภาชนะกักเก็บ จะได้ส่วนน้ำมันหอมระเหยที่แยกชั้นกับน้ำ
2.การกลั่นโดยใช้พืชแช่ในน้ำ(Water or Hydro-Distillation) โดย การนำพืชแช่ในน้ำ แล้วต้มน้ำจนเดือด เซล์พืชจะแตกออก และน้ำมันหอมระเหยจะแยกลอยตัวขึ้นมา พืชที่กลั่นวิธีนี้จะต้องเป็นพืชที่ทนความร้อนสูงได้ดี แต่ควรระวังในการกลั่น เพราะเนื่องจาก ส่วนของพืชโดนความร้อนดดยตรง อาจทำให้เกิดการไหม้ ได้กลิ่นไหม้ปนไปกับน้ำมันหอมระเหย และมีสารที่ไม่ต้องการปะปนไปด้วย
 
3.การกลั่นด้วยไอน้ำภายใต้แรงดันสูง ( Vacuum Steam Distillation ) วิธีนี้จะเหมือนกับ การกลั่นด้วยไอน้ำ แต่จะกลั่นภายใต้แรงดันสูง เพื่อลดจุดเดือดของน้ำ และน้ำมันหอมระเหย ทำให้ได้น้ำมันที่ไม่โดนทำลายด้วยอุณหภูมิสูง และ น้ำมันหอมระเหยนี้ยังมีประสิทธิภาพ คุณภาพดีกว่า การกลั่นแบบ 2 วิธีแรกอีกด้วย
2. การกลั่นโดยใช้พืชแช่ในน้ำ (Water or Hydro-Distillation) โดย การนำพืชแช่ในน้ำ แล้วต้มน้ำจนเดือด เซล์พืชจะแตกออก และน้ำมันหอมระเหยจะแยกลอยตัวขึ้นมา พืชที่กลั่นวิธีนี้จะต้องเป็นพืชที่ทนความร้อนสูงได้ดี แต่ควรระวังในการกลั่น เพราะเนื่องจาก ส่วนของพืชโดนความร้อนดดยตรงโดยตรง อาจทำให้เกิดการไหม้ ได้ กลิ่นไหม้ปนไปกับน้ำมันหอมระเหย และมีสารที่ไม่ต้องการปะปนไปด้วย
 
3. การกลั่นด้วยไอน้ำภายใต้แรงดันสูง ( Vacuum Steam Distillation ) วิธีนี้จะเหมือนกับ การกลั่นด้วยไอน้ำ แต่จะกลั่นภายใต้แรงดันสูง เพื่อลดจุดเดือดของน้ำ และน้ำมันหอมระเหย ทำให้ได้น้ำมันที่ไม่โดนทำลายด้วยอุณหภูมิสูง และ น้ำมันหอมระเหยนี้ยังมีประสิทธิภาพ คุณภาพดีกว่า การกลั่นแบบ 2 วิธีแรกอีกด้วย
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==