ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศอินโดนีเซีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 148:
ระบบถนนทั้งประเทศมีความยาวรวม {{convert|537838|km|mi|abbr=off}} {{As of|2016|lc=y}}.<ref>{{cite web|url=https://www.bps.go.id/linkTableDinamis/view/id/820|title=Length of Road by Surface, 1957–2015 (Km)|publisher=BPS|language=id|accessdate=20 December 2017}}</ref> โดยจาการ์ตามีระบบ[[รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ]]ที่ขึ้นชื่อว่ามีเส้นทางเดินรถยาวที่สุดในโลก "[[ทรานส์จาการ์ตา]]" (TransJakarta)
ด้วยระยะทาง {{convert|230.9|km|abbr=off}} ใน 13 สายที่วิ่งจนถึงชานเมืองจาการ์ตา<ref>{{cite web|url=https://transjakarta.co.id/produk-dan-layanan/infrastruktur/koridor/|title=Koridor|publisher=TransJakarta|language=id|accessdate=15 August 2017}}</ref> [[รถสามล้อ]] เช่น ''bajaj'', ''becak'' และแท็กซี่แบบแบ่งกัน (share taxi) เช่น ''Angkot'' และ ''Metromini'' เป็นรูปแบบการขนส่งท้องถิ่นที่พบได้ทั่วไปในประเทศ ระบบการขนส่งทางรางส่วนมากกระจุกตัวอยู่ในชวา ทั้งขนส่งผู้โดยสารและสินค้า สำหรับรถไฟฟ้าและ[[โมโนเรล]]กำลังอยู่ระหว่างการก่อสร้างใน[[จาการ์ตา]]และ[[ปาเล็มบัง]] ภายใต้ชื่อ MRT และ LRT<ref>{{cite web|url=https://www.indoindians.com/mrt-and-lrt-jakartas-new-rapid-transportation-coming-soon/|title=MRT and LRT, Jakarta's New Rapid Transportation: Coming Soon|publisher=Indo Indians|date=25 September 2017|accessdate=17 January 2018|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20180117032821/https://www.indoindians.com/mrt-and-lrt-jakartas-new-rapid-transportation-coming-soon/|archivedate=17 January 2018}}</ref><ref>{{cite web|url=http://properti.kompas.com/read/2016/10/22/162355221/lrt.palembang.beroperasi.juni.2018|title=Palembang LRT to begin operation in June 2018|author=Alexander, Hilda B.|publisher=Kompas|language=id|date=22 October 2016|accessdate=29 October 2016|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161029175950/http://properti.kompas.com/read/2016/10/22/162355221/lrt.palembang.beroperasi.juni.2018|archivedate=29 October 2016}}</ref> นอกจากนี้ยังมีแผนที่จะสร้าง[[รถไฟความเร็วสูง]]ซึ่งประกาศในปี 2015 ถือเป็นชาติแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ริเริ่มแนวคิดนี้<ref>{{cite web|url=https://www.straitstimes.com/asia/se-asia/south-east-asias-first-high-speed-rail-ready-for-construction-china-railway-corp|title=South-east Asia's first high-speed rail in Indonesia ready for construction: China Railway Corp|publisher=The Straits Times|date=2 July 2018|accessdate=26 September 2018|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20180711162201/https://www.straitstimes.com/asia/se-asia/south-east-asias-first-high-speed-rail-ready-for-construction-china-railway-corp|archivedate=11 July 2018}}</ref>
[[ไฟล์:Terminal Garuda Indonesia di Bandara Soekarno-Hatta Cengkareng.jpg|thumb|เครื่องบินของ[[การูดาอินโดนีเซีย]]ที่[[ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา]]]]
 
ท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของอินโดนีเซียคือ [[ท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตา]] ซึ่งเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารผ่านเข้าออกมากที่สุดในซีกโลกใต้ ราว 63 ล้านคน ในปี 2017<ref>{{cite web|url=http://www.thejakartapost.com/news/2018/04/11/soekarno-hatta-worlds-17th-busiest-airport.html|title=Soekarno-Hatta world's 17th busiest airport|publisher=The Jakarta Post|accessdate=11 April 2018|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20180411120328/http://www.thejakartapost.com/news/2018/04/11/soekarno-hatta-worlds-17th-busiest-airport.html|archivedate=11 April 2018}}</ref> โดยมี[[ท่าอากาศยานนานาชาติงูระฮ์ ไร]] และ [[ท่าอากาศยานนานาชาติจ็วนดา]] มีผู้โดยสารเข้าออกมากที่สุดรองลงมาตามลำดับ สายการบินประจำชาติ "[[การูดาอินโดนีเซีย]]" เปิดตัวในปี 1949 ในปัจจุบันสายการบินชั้นนำแห่งหนึ่งของโลก และเป็นสมาชิกของ[[สกายทีม]] ส่วนการคมนาคมทางน้ำมี[[ท่าเรือตันจัง ปริอ็อก]] เป็นท่าสำคัญที่มีการใช้งานเยอะที่สุดและขึ้นชื่อว่าทันสมัยที่สุดในประเทศ<ref>{{cite web|url=https://www.economist.com/news/special-report/21693404-after-decades-underinvestment-infrastructure-spending-picking-up-last|title=The 13,466-island problem|publisher=The Economist|date=27 February 2016|accessdate=16 June 2017}}</ref> รองรับการขนส่งสินค้ามากกว่า 50% ของการขนส่งทางเรือทั้งหมดของประเทศ