ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แหล่งไดโนเสาร์โคกผาส้วม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
การเดินทางโดยรถประจำทาง ควรอยู่ในบทความอำเภอศรีเมืองใหม่มากกว่า
บรรทัด 13:
| จำนวนผู้เข้าชม =
| ที่ตั้ง = โคกผาส้วม [[ตำบลนาคำ]] [[อำเภอศรีเมืองใหม่]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]]
| ประเทศที่ตั้ง = {{flag|ไทย}}
| การคมนาคม =
| พิกัดภูมิศาสตร์ = {{Coord|15|30|10|N|105|17|34|E|region:TH-34_type:landmark|name=แหล่งไดโนเสาร์โคกผาส้วม|display=inline, title}}
| เว็บไซต์ =
}}
 
'''แหล่งไดโนเสาร์โคกผาส้วม''' หรือ '''ศูนย์การเรียนรู้พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ โคกผาส้วม''' เป็นแหล่งขุดค้นพบ[[ไดโนเสาร์]]ยุุคสุดท้าย ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ป่าชุมชนป่าโคกผาส้วม [[ตำบลนาคำ]] [[อำเภอศรีเมืองใหม่]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]]<ref>[[กรมทรัพยากรธรณี]]. [http://www.dmr.go.th/download/article/article_20170620132157.pdf ''พิพิธภัณฑ์ธรณีวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ'' – ศูนย์การเรียนรู้ไดโนเสาร์เฉลิมพระเกียรติฯ โคกผาส้วม], หน้า 20.</ref>
 
'''แหล่งไดโนเสาร์โคกผาส้วม''' หรือ'''ศูนย์การเรียนรู้พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ โคกผาส้วม'''เป็นแหล่งขุดค้นพบไดโนเสาร์ยุุคสุดท้าย ตั้งอยู่ในเขตป่าโคกผาส้วม [[ตำบลนาคำ]] [[อำเภอศรีเมืองใหม่]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]]
 
== การสำรวจ ==
 
เมื่อปี พ.ศ. 2536 คณะสำรวจไทยและฝรั่งเศส ได้เดินทางมาสำรวจพื้นที่ป่าโคกผาส้วมแห่งนี้ สันนิษฐานว่า พื้นที่ดังกล่าวเคยเป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ โดยพบฟันของไดโนเสาร์คล้ายกับ[[สยามโมซอรัส สุธีธรนี]] และอีกส่วนหนึ่งเป็นฟันของไดโนเสาร์[[Ornithopod|ออร์นิโธพอด]] พวก วงศ์[[Iguanodontidae|อีกัวโนดอนทิดส์]] และนี่คือหลักฐานแรกที่บอกได้ว่า มีไดโนเสาร์พวกออร์นิโธพอด ออร์นิโธพอดในประเทศไทย สำหรับชิ้นส่วนของ[[ซากดึกดำบรรพ์]] ทางชาวบ้านที่ได้รวมตัวจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์ป่าโคกผาส้วม ได้นำไปเก็บรักษาไว้ที่[[กรมทรัพยากรธรณี]] และอีกส่วนหนึ่งได้นำมาเก็บรักษาที่ อบต.สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลนาคำ อ.อำเภอศรีเมืองใหม่ ขณะที่ชาวบ้านต้องการให้มีการจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ เพื่อเก็บรวบรวมและอนุรักษ์ไว้ให้ลูกหลาน และผู้ที่สนใจ มาศึกษาดูงานต่อไป
 
นอกจากนี้แล้วการค้นพบนี้ยังแสดงให้เห็นว่ามีไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ ที่มีสะโพกคล้ายนก และมีขาหลังที่ใหญ่กว่าขาหน้า อย่างพวก[https://en.m.wikipedia.org/wiki/Ornithopod ออร์นิโธพอด] ซึ่งจะเป็นจุุดดึงดูดให้ผู้ที่สนใจได้มาศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม
 
== ลักษณะทางธรณีวิทยา ==
บริเวณที่ค้นพบซากดึกดำบรรพ์มีเนื้อที่ประมาณ 2 ไร่ พื้นดินมีลักษณะเป็น[[หินทราย]] สีน้้ำตาลแดงอ่อน หินมีเนื้อละเอียดถึงปานกลาง อยู่ใน[[หมวดหิน]]โคกกรวด มีอายุราว 100-100–110 ล้านปี
[[ไฟล์:ลักษณะทางธรณีวิทยาโคกผาส้วม.jpg|5px×5px]]
บริเวณที่ค้นพบซากดึกดำบรรพ์มีเนื้อที่ประมาณ 2 ไร่ พื้นดินมีลักษณะเป็นหินทราย สีน้้ำตาลแดงอ่อน หินมีเนื้อละเอียดถึงปานกลาง อยู่ในหมวดหินโคกกรวด มีอายุราว 100-110 ล้านปี
 
== ซากดึกดำบรรพ์ที่ค้นพบ ==
''[[ไฟล์:ซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์โคกผาส้วม.jpg|thumb|กระดูกหางไดโนเสาร์พบที่โคกผาส้วม]]
[[ไฟล์:Lepidotes elvensis.JPG|thumb|ปลา''เลปิโดเทส เอลเวนซิส'' (ตัวอย่างจากแหล่งอื่น)]]
[https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/4/49/%E0%B8%8B%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B3%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%81%E0%B8%9C%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A1.jpg''<small><sub><u>กระดูกหางไดโนเสาร์พบที่โคกผาส้วม</u></sub></small>'']''
 
ซากไดโนเสาร์ที่ค้นพบที่ระบุสายพันธุ์ได้มีทั้งหมด 9 สายพันธุ์ได้แก่
* [[อิกัวโนดอน|อีกัวโนดอน]]
* [[ไทแรนโนซอรัส|ไทรันโนซอรัส]]
* [[ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน|ภูเวียงโกซอรัส]]
* [[สไปโนซอรัส|สไปโนซอร์]]
* [[สยามโมซอรัส|สยามโมซอร์]]
* [[https://en.m.wikipedia.org/wiki/Lepidotes |เลปิโดเทส]]
* [[https://en.m.wikipedia.org/wiki/Hybodontidae |ไฮโบดอน]]
•[[* เต่าโบราณ]]
•[[* จระเข้โบราณ]]
 
และยังมีอีกสองชนิดที่ไม่ยังสามารถระบุสายพันธ์พันธุ์ได้
•[[อิกัวโนดอน|อีกัวโนดอน]]
 
== การเดินทาง ==
•[[ไทแรนโนซอรัส|ไทรันโนซอรัส]]
รถยนต์ส่วนตัวใช้เส้นทาง {{ป้ายทางหลวง|H|2135}} [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2135]] ออกจากตัวอำเภอศรีเมืองใหม่ มาประมาณ 2 กิโลเมตร จะเห็นที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลนาคำอยู่ทางขวามือ เลี้ยวขวาข้างที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลนาคำมาประมาณ 50 เมตร พิพิธภัณฑ์จะอยู่ทางขวามือ
 
•[[ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน|ภูเวียงโกซอรัส]]
 
•[[สไปโนซอรัส|สไปโนซอร์]]
 
•[[สยามโมซอรัส|สยามโมซอร์]]
 
•[https://en.m.wikipedia.org/wiki/Lepidotes เลปิโดเทส]
 
•[https://en.m.wikipedia.org/wiki/Hybodontidae ไฮโบดอน]
 
•[[เต่าโบราณ]]
 
•[[จระเข้โบราณ]]
 
และยังมีอีกสองชนิดที่ไม่ยังสามารถระบุสายพันธ์ได้
[[ไฟล์:Lepidotes elvensis.JPG]]
<sub>''ตัวอย่างภาพ[https://en.m.wikipedia.org/wiki/Lepidotes ปลาเลปิโดเทส]'' ''เอลเวนซิส''</sub>
 
==การเดินทาง==
รถยนต์ส่วนตัว
ใช้เส้นทางหมายเลข 2135 ออกจากตัวอำเภอศรีเมืองใหม่ มาประมาณ 2 กิโลเมตร จะเห็นที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลนาคำอยู่ทางขวามือ เลี้ยวขวาข้างที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลนาคำมาประมาณ50เมตร พิพิธภัณฑ์จะอยู่ทางขวามือ
ส่วนรถโดยสารที่ใช้ในการคมนาคม มีทั้งหมด 5 สาย
 
1. สาย[[อำเภอศรีเมืองใหม่|ศรีเมืองใหม่]] – [[อำเภอพิบูลมังสาหาร|พิบูลมังสาหาร]] – [[อำเภอตาลสุม|ตาลสุม]] – [[จังหวัดอุบลราชธานี|อุบลราชธานี]] จำนวน 6 เที่ยวต่อวัน
 
2. สายศรีเมืองใหม่ – ตระการพืชผล – อุบลราชธานี จำนวน 18 เที่ยวต่อวัน
 
3. สาย[[อำเภอศรีเมืองใหม่|ศรีเมืองใหม่]] – [[กรุงเทพมหานคร]] จำนวน 4 เที่ยวต่อวัน
 
4. สายศรีเมืองใหม่ไปหนามแท่ง [[ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข อบ. 2135]] (ไปสู่แหล่งท่องเที่ยว หมู่ที่ 12 บ้านใหม่ดงสำโรง)
 
5. สายฟ้าห่วนไปนาเลิน [[ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข อบ. 2019]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://www.dmr.go.th/ThailandGeopark/%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%AD/%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99/%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%A2.html แหล่งไดโนเสาร์ยุคสุดท้าย], จากเว็บไซต์อุทยานธรณีแห่งประเทศไทย [[กรมทรัพยากรธรณี]], สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2562.
* [https://www.sanook.com/news/1098088/ อุบลฯ ฮือฮาพบซากไดโนเสาร์อายุ 110 ล้านปี], จากข่าว Sanook.com, สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2562.
 
แหล่งไดโนเสาร์ยุคสุดท้าย.6/02/2562.
http://www.dmr.go.th/ThailandGeopark/%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%AD/%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99/%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%A2.html
 
https://www.sanook.com/news/1098088/
 
[[กรมทรัพยากรธรณี]]. ศูนย์การเรียนรู้ไดโนเสาร์เฉลิมพระเกียรติฯ โคกผาส้วม, พิพิธภัณฑ์ธรณีวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,20.
 
<br />
[[หมวดหมู่:แหล่งความรู้]]
[[หมวดหมู่:ไดโนเสาร์ในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดอุบลราชธานี]]
[[หมวดหมู่:การสำรวจ]]
[[หมวดหมู่:ธรณีวิทยา]]
[[หมวดหมู่:ซากดึกดำบรรพ์]]
[[หมวดหมู่:พิพิธภัณฑ์ทางธรณีวิทยา]]
[[หมวดหมู่:กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจังหวัดอุบลราชธานี]]
[[หมวดหมู่:ตำบลนาคำ]]
[[หมวดหมู่:ทรัพยากรธรณี]]
[[หมวดหมู่:การท่องเที่ยว]]