ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วชิรพยาบาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
| ชื่ออังกฤษ = Vajira Hospital
| ก่อตั้ง = 2 มกราคม พ.ศ. 2455 (นับศักราชแบบเก่า)
2 มกราคม พ.ศ. 2456 (นับศักราชแบบใหม่)<ref>https://th.wikisource.org/wiki/ประกาศให้ใช้วันที่_๑_มกราคม_เป็นวันขึ้นปีใหม่_ลงวันที่_๒๔_ธันวาคม_๒๔๘๓</ref>
| ประเภท = [[โรงพยาบาล|โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย]]
| สังกัด = [[คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล]]
บรรทัด 20:
[[ไฟล์:วชิรพยาบาล อาคารวชิรนุสรณ์ 1910s.jpg|thumb|left|อาคารวชิรนุสรณ์]]
 
วชิรพยาบาลเดิมเป็นเดิมเป็นบ้านพระสรรพการหิรัญกิจ (เชย สรรพการ) โดยประกอบด้วย หลังใหญ่เป็นตึก 3 ชั้น (ปัจจุบันคือ อาคารวชิรานุสรณ์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล) และ หลังเล็กเป็นตึก 2 ชั้น ทั้ง 2 หลังเป็นตึกแบบโบราณพื้นไม้สัก บริเวณทั่วไปมีทั้งที่ราบเนินดินสูง อุโมงค์ ภูเขาจำลอง โขดหิน ต้นไม้ใหญ่น้อยประดับประดาเป็นจำนวนมาก และมีทั้งทางคดเคี้ยวไปมาแบบเดินในสวนสาธารณโบราณ สถานที่นี้ปรากฏในเอกสารบางฉบับ เรียกชื่อว่า “หิมพานต์ปาร์ค” ต่อมาได้ตกเป็นกรรมสิทธิของ[[ธนาคารไทยพาณิชย์|แบงค์สยามกันมาจลทุนจำกัด]] จนกระทั่ง ร.ศ.๑๓๑ (พ.ศ.๒๕๕)<ref>[http://www.vajira.ac.th/b/index.php/vjr-info?id=28 ประวัติคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล]</ref>
 
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จขึ้นครองสมบัติ พระองค์ทรงคำนึงถึงโบราณราชประเพณีที่[[พระมหากษัตริย์]]จะทรงสร้างพระอารามไว้เป็นเครื่องเฉลิมพระราชศรัทธาและเพื่อให้เป็นสถานที่สถิตย์แห่งภิกษุสงฆ์เป็นผู้ค้ำจุนพระบวรพุทธศาสนาให้ถาวรอยู่เพื่อประโยชน์แห่งผสกนิกร แต่เนื่องจากในรัชสมัยของพระองค์นั้นมีพระอารามภายในพระนครอยู่มาก ครั้นจะสร้างเพิ่มอีกก็จะเกินความจำเป็นในการทะนุบำรุงพระศาสนา ดังนั้น พระองค์ได้ทรงสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดซื้อที่ดิน พร้อมด้วยตึกและสิ่งปลูกสร้างที่จะสร้างโรงพยาบาลขึ้น เพื่อพระราชทานให้เป็นสาธารณสถานดังพระกระแสรับสั่งตอนหนึ่งว่า
บรรทัด 32:
ต่อมาในปี พ.ศ. 2466 ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ตั้งคณะกรรมการปกครองวชิรพยาบาล รับผิดชอบขึ้นตรงต่อ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โดยมี[[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก|สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลเดชวิกรม พระบรมราชชนก]] พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทยเป็นองค์ประธานการวางระเบียบการโรงพยาบาลเพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามพระราชดำริ<ref>https://mahidol.ac.th/temp/document/prabida/missive.pdf</ref> โดยในปี พ.ศ. 2472 ทรงวางโครงการให้วชิรพยาบาลเป็นศูนย์กลางการศึกษาของกรมสาธารณสุข และได้ทรงวางแบบแปลนสิ่งปลูกสร้างเพิ่มเติมในการขยายวชิรพยาบาล<ref>https://www.slideshare.net/ssriboonsong/20-51189071</ref>
 
วชิรพยาบาลได้เจริญสืบมาเป็นลำดับ โดยในปี พ.ศ. 2528 ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี [[พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ให้เป็นแหล่งศึกษาชั้นคลินิกของนิสิตแพทย์ [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]] และ ในปี พ.ศ. 2536 [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]ได้จัดตั้ง '''วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร''' ขึ้นโดยให้วชิรพยาบาลเป็นแหล่งผลิตนักศึกาาแพทย์ระดับศึกษาชั้นคลินิกนักศึกษาแพทย์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2541 จึงได้มีการปรับปรุงโครงสร้างใหม่ โดยได้รวม "วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร" และ "วชิรพยาบาล" เข้าเป็นหน่วยราชการเดียวกันในชื่อ "วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล"
 
ในปี พ.ศ. 2553 ได้มีประกาศราชกิจจานุเบกษา จัดตั้งมหาวิยาลัยกรุงเทพมหานคร<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/A/069/1.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร]</ref> ซึ่งในต่อมาได้รับพระราชทานนามมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/A/053/1.PDF พระราชบัญญัติเปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานครเป็นมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช]</ref> จาก[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุยเดช]] วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล จึงเปลี่ยบนสถานะเป็น "[[คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช|คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล]]" โดยวชิรพยาบาลวชิรพยาบาลเป็นสถานพยาบาล[[โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย]]ในสังกัด[[คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช|คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล]] [[มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช]]
 
[[ไฟล์:Vajira Hospital.png|thumb|right|อาคารอำนวยการและอาคารเพชรรัตน