ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหมา เจ๋อตง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Venomous Sniper (คุย | ส่วนร่วม)
fix lint error
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 30:
<ref>http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/ww526/tapanee/tapanee-web2/contents/mao.htm</ref>ในปี 1910 เหมา เริ่มเข้าเรียนในโรงเรียน แต่ไม่นานก็ต้องออกเนื่อง จากการปฏิวัติของซุนยัดเซน ปี 1913 ได้เข้าเรียน[[วิทยาลัยครูที่หูหนาน]] ท่านมีความสนใจในงานเขียนของ[[คาร์ล มาร์กซ์]]ซึ่งมีแนวคิดเป็นคอมมิวนิสต์
 
อดีตประธานาธิบดี ผู้ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน ท่านประธานเหมา เจ๋อ ตุง เกิดวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2436 ในครอบครัวชาวนา อาศัยอยู่ในเขตชนบทชานเมืองสาวซาน [[มณฑลหูหนาน]] อายุ 8 ขวบ เข้าโรงเรียนประถมในหมู่บ้าน ร่ำเรียนคำสอนหลักลัทธิขงจื้อ ปลูกฝังความคิดตามจารีตโบราณ ต่อมาถูกคลุมถุงชนให้แต่งงานกับหญิงสาวที่อายุมากกว่า ด้วยวัยเยาว์ทำให้ไม่ประสากับชีวิตครอบครัว อีกทั้งต้องการก้าวสู่โลกกว้างมากกว่ามีชีวิตปลูกพืช เลี้ยงสัตว์อยู่กับบ้านไปวันๆ ตัดสินใจขัดใจพ่อแล้วเดินทางออกจากบ้านเกิดเข้าตัวอำเภอฉางชา เรียนหนังสือในโรงเรียนตามหลักสูตรรัฐบาล เป็นนักเรียนโข่งร่วมชั้นกับเด็กเล็กๆ ต่อมาสอบเข้าเรียนต่อวิทยาลัยครูหูหนาน จากนั้นมุ่งหน้าเข้ามหาวิทยาลัยปักกิ่ง เรียนไปทำงานหน้าที่ผู้ช่วยบรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยไปด้วย และห้องสมุดนั่นเองที่เป็นคลังความรู้ให้สะสมภูมิปัญญา ทั้งแตกฉานทางอักษรศาสตร์ยอดเยี่ยม ว่ากันว่าความรู้ที่ได้จากห้องสมุดมหาวิทยาลัยปักกิ่งคือต้นทุนที่ทำให้เขาปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองของจีนได้สำเร็จ
== เหมา เจ๋อตง กับ เจียงไคเชก ==
เหมา เจ๋อตง กับ เจียง เป็นเพื่อนกัน แต่เนื่องจาก เจียงเป็นมือขวาสำคัญของ ซุน และมีความใกล้ชิดกับ เจียงมากซึ่งเหมา เจ๋อตงก็มีแนวคิดเป็น[[ประชาธิปไตย|คอมมิวนิสต์]] เจียงจึงมีแนวคิดคล้ายๆกับ ซุน นั่นคือ ประเทศจีน ต้องปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ เจียงต้องการให้จีนปกครองแบบประชาธิปไตยจึงเหตุให้ทั้งคู่ไม่ถูกกันและเป็นศัตรูกันจนถึงวันเสียของทั้งคู่
 
อดีตประธานาธิบดี ผู้ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน
ท่านประธานเหมา เจ๋อ ตุง เกิดวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2436 ในครอบครัวชาวนา อาศัยอยู่ในเขตชนบทชานเมืองสาวซาน [[มณฑลหูหนาน]] อายุ 8 ขวบ เข้าโรงเรียนประถมในหมู่บ้าน ร่ำเรียนคำสอนหลักลัทธิขงจื้อ ปลูกฝังความคิดตามจารีตโบราณ ต่อมาถูกคลุมถุงชนให้แต่งงานกับหญิงสาวที่อายุมากกว่า ด้วยวัยเยาว์ทำให้ไม่ประสากับชีวิตครอบครัว อีกทั้งต้องการก้าวสู่โลกกว้างมากกว่ามีชีวิตปลูกพืช เลี้ยงสัตว์อยู่กับบ้านไปวันๆ ตัดสินใจขัดใจพ่อแล้วเดินทางออกจากบ้านเกิดเข้าตัวอำเภอฉางชา เรียนหนังสือในโรงเรียนตามหลักสูตรรัฐบาล เป็นนักเรียนโข่งร่วมชั้นกับเด็กเล็กๆ ต่อมาสอบเข้าเรียนต่อวิทยาลัยครูหูหนาน จากนั้นมุ่งหน้าเข้ามหาวิทยาลัยปักกิ่ง เรียนไปทำงานหน้าที่ผู้ช่วยบรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยไปด้วย และห้องสมุดนั่นเองที่เป็นคลังความรู้ให้สะสมภูมิปัญญา ทั้งแตกฉานทางอักษรศาสตร์ยอดเยี่ยม ว่ากันว่าความรู้ที่ได้จากห้องสมุดมหาวิทยาลัยปักกิ่งคือต้นทุนที่ทำให้เขาปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองของจีนได้สำเร็จ
 
เหมาทุ่มเทเวลาให้กับการเรียนหนังสืออย่างจริงจัง เวลาว่างเขาเขียนบทความลงหนังสือของวิทยาลัยครู ใช้นามแฝง "เอ้อสือปาวาเซิง" หรือ "นายยี่สิบแปดขีด" ตามชื่อของเขาที่เมื่อเขียนเป็นภาษาจีนแบบตัวเต็มรุ่นเก่า จะมีทั้งหมด 28 ขีด งานเขียนส่วนใหญ่ของเหมาแสดงทัศนะวิพากษ์วิจารณ์การปกครองของราชสำนักชิงซึ่งเป็นชาวแมนจู
 
นักศึกษาหนุ่มหัวก้าวหน้าจึงเป็นที่จับตาของสายลับรัฐบาล นั่นไม่เป็นผลอะไร เพราะที่สุดเหมารวมพลคนใจเดียวกัน ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์จีนในพ.ศ. 2464 และปีเดียวกัน เขาเป็นแกนนำหยุดงานประท้วงของคนงานเหมืองแร่ที่อันหยวน เขียนหนังสือ "พลังปฏิวัติเบ่งบานออกมาจากปากกระบอกปืน" แล้วก่อตั้งกองทัพแดงกรรมกรและชาวนา ตามด้วยกองทัพปลดแอกประชาชน ปฏิบัติการ "ป่าล้อมเมือง" จนมีชัยเหนือเจียง ไค เช็ก เหมา เจ๋อ ตุง กุมอำนาจรัฐเบ็ดเสร็จเด็ดขาด เขาสถาปนา "สาธารณรัฐประชาชนจีน" ดำรงตำแหน่งประธานสาธารณรัฐจนถึงพ.ศ. 2512
 
เหมา เจ๋อ ตุง กุมอำนาจรัฐเบ็ดเสร็จเด็ดขาด เขาสถาปนา "สาธารณรัฐประชาชนจีน" ดำรงตำแหน่งประธานสาธารณรัฐจนถึงพ.ศ. 2512
== เหมา เจ๋อตง กับ เจียงไคเชก ==
เหมา เจ๋อตง กับ เจียง เป็นเพื่อนกัน แต่เนื่องจาก เจียงเป็นมือขวาสำคัญของ ซุน และมีความใกล้ชิดกับ เจียงมากซึ่งเหมา เจ๋อตงก็มีแนวคิดเป็น[[ประชาธิปไตย|คอมมิวนิสต์]] เจียงจึงมีแนวคิดคล้ายๆกับ ซุน นั่นคือ ประเทศจีน ต้องปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ เจียงต้องการให้จีนปกครองแบบประชาธิปไตยจึงเหตุให้ทั้งคู่ไม่ถูกกันและเป็นศัตรูกันจนถึงวันเสียของทั้งคู่
 
== การปฏิวัติ ==