ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การอยู่เป็นโสด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
เซลิเบซีได้มีอยู่ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งตามประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา ในแทบทุกๆศาสนาหลักของโลก และมุมมองที่หลากหลาย เช่นเดียวกับ[[ชาวโรมัน]]ได้มองว่าเป็นความผิดปกติและกฏหมายได้มีการลงโทษด้วยการปรับเป็นเงิน โดยมีข้อยกเว้นเพียงประการเดียวที่อนุญาตให้แก่กลุ่มนักบวชหญิงที่ชื่อว่า [[เวสทัล เวอร์จิ้นส์]] ทัศนคติของ[[ศาสนาอิสลาม]]ที่มีต่อการอยู่เป็นโสดนั้นมีความซับซ้อนเช่นเดียวกัน ฮะดีษบางคำได้กล่าวว่า มูฮัมหมัดได้ประณามติเตียน แต่บางคำสั่งของนิกายศูฟีได้ถูกนำมาใช้
 
วัฒนธรรมคลาสสิคของ[[ศาสนาฮินดู|ชาวฮินดู]]ได้สนับสนุนการบำเพ็ญตบะและการถือพรหมจรรย์ในช่วงบั้นปลายของชีวิต ภายหลังจากที่ได้พบกับภาระผูกพันทางสังคมของเขา [[ศาสนาเชน]], ในทางตรงกันข้าม คำสั่งสอนในการถือพรหมจรรย์ที่สมบูรณ์ แม้สำหรับนักพรตหนุ่มแล้วและได้ถือว่า การถือพหจรรย์เป็นพฤติกรรมที่สำคัญในการบรรลุโมกษะ [[ศาสนาพุทธ]]ได้รับอิทธิพลจากศาสนาเชน อย่างไรก็ตาม, ด้วยความแตกต่างทางวัฒนธรรมที่สำคัญในด้านต่างๆที่ศาสนาพุทธได้เผยแพร่กระจายออกไปซึ่งส่งผลต่อทัศนคติของคนในท้องถิ่นต่อการถือพหรมจรรย์ มันไม่รับการตอบรับที่ดีในประเทศจีน จากตัวอย่างเช่นขบวนการทางศาสนาอื่นๆ เช่น [[ลัทธิเต๋า]]ได้ออกมาคัดค้าน สถานการณ์ที่ค่อนข้างคล้ายกันที่เกิดขึ้นในประเทศญี่ปุ่น ที่ประเพณี[[ชินโต]]ยังคงต่อต้านการถือพหจรรย์พรหมจรรย์ ในประเพณีทางศาสนาพื้นเมืองของชาวแอฟริกันและชาวอเมริกาอินเดียส่วนใหญ่ การถือพหจรรย์ได้ถูกมองในแง่ลบเช่นกัน ถึงแม้ว่าจะมีข้อยกเว้น เช่น การถือครองโสดเป็นระยะๆซึ่งฝึกฝนโดยนักรบชาวเมโสอเมริกัน<ref name="Olson2007">{{cite book|author=Carl Olson|title=Celibacy and Religious Traditions|year=2007|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-804181-8|pages=10–19}}</ref>
 
==อ้างอิง==