ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชาธิปไตย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8055581 สร้างโดย 49.229.112.35 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 2:
{{ระบอบการปกครอง}}
[[ไฟล์:Democracy claims.svg|300px|thumb|นับแต่[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ยุติ ทั่วโลกตื่นตัวกับระบอบประชาธิปไตย แผนที่ดังกล่าวแสดงให้เห็นรัฐที่มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย แผนที่เมื่อ ค.ศ. 2012<br />
{{legend|green|รัฐที่มองว่าตนปกครองระบอบประชาำไไไธิปไตยประชาธิปไตย}}
{{legend|red|รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ [[นครรัฐวาติกัน]] [[ประเทศซาอุดิอาระเบีย]] [[UAEสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์]] [[กาตาร์]] [[โอมาน]] [[ฟิจิ]] และ[[บรูไน]]}}]]
'''ประชาธิปไตย''' ({{lang-en|democracy}}) เป็น[[ระบอบการปกครอง]]แบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของ[[พลเมือง]] ผู้เป็นเจ้าของ[[อำนาจอธิปไตย]] โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน
 
ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบาง[[นครรัฐกรีก|นครรัฐกรีกโบราณ]]ช่วงศตวรรษที่ 5 [[ก่อนคริสตกาล]] โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใน[[เอเธนส์]]หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล<ref name="BBC1">[http://www.bbc.co.uk/history/ancient/greeks/greekdemocracy_01.shtml ประวัติศาสตร์ของระบอบประชาธิปไตยโดยบีบีซี]</ref> ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า '''[[ประชาธิปไตยทางตรง]]''' ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็น'''[[ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน]]''' โดยสาธารณะออกเสียงใน[[การเลือกตั้ง]]และเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนใน[[รัฐสภา]] จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิก[[เทศบาล]] อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียง[[การลงประชามติ]] การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง
บรรทัด 10:
แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม<ref>[http://www.economist.com/markets/rankings/displaystory.cfm?story_id=8908438 Liberty and justice for some]</ref> แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาล<ref name="AristotlePol1317b">[http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?doc=Perseus%3Atext%3A1999.01.0058;query=section%3D%23137;layout=;loc=6.1318ahttp://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?doc=Perseus%3Atext%3A1999.01.0058;query=section%3D%23137;layout=;loc=6.1318a Aristotle, Politics.1317b]</ref><ref name="BKMIT">R. Alan Dahl, I. Shapiro, J. A. Cheibub, ''The Democracy Sourcebook'', MIT Press 2003, ISBN 0-262-54147-5, [http://books.google.co.uk/books?id=B8THIuSkiqgC Google Books link]</ref><ref name="BKHenaff">M. Hénaff, T. B. Strong, ''Public Space and Democracy'', University of Minnesota Press, ISBN 0-8166-3387-8</ref> หลักการดังกล่าวสะท้อนออกมาผ่าน[[ความเสมอภาคทางกฎหมาย]]ของพลเมืองทุกคน และสิทธิเข้าถึงกระบวนการทางกฎหมายโดยเท่าเทียม ตัวอย่างเช่น ในประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน ทุกเสียงมีน้ำหนักเท่ากันทั้งสิ้น และไม่มีการจำกัดอย่างไร้เหตุผลใช้บังคับกับทุกคนที่ปรารถนาเป็นผู้แทน ส่วนอิสรภาพได้มาจากสิทธิและเสรีภาพตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งโดยทั่วไปได้รับการคุ้มครองโดย[[รัฐธรรมนูญ]]<ref name="BKMIT"/><ref name="BKHenaff"/>
 
ประชาธิปไตยถือกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการในกรีซโบราณ<ref name="BKDunn1992">John Dunn, ''Democracy: the unfinished journey 508 BC – 1993 AD'', Oxford University Press, 1994, ISBN 0198279345</ref><ref name="BKRaaflaud2007">Kurt A. Raaflaub, Josiah Ober, Robert W. Wallace, ''Origin of Democracy in Ancient Greece'', University of California Press, 2007, ISBN 0520245628, [http://books.google.com/books?id=6qaSHHMaGVkC Google Books link]</ref> แต่วิธีปฏิบัติแบบประชาธิปไตยปรากฏในสังคมอยู่ก่อนแล้ว รวมทั้ง[[เมโสโปเตเมีย]] [[ฟินีเซีย]] และ[[อินเดีย]]<ref name=Isakhan&Stockwell2011>{{cite book|last=Isakhan, B. and Stockwell, S (co-eds)|title=The Secret History of Democracy|year=2011|publisher=Palgrave Macmillan|location=London|isbn=978-0-230-24421-4|pages=19–59}}</ref> วัฒนธรรมอื่นหลังกรีซได้มีส่วนสำคัญต่อวิวัฒนาการของประชาธิปไตย เช่น โรมันโบราณ<ref name="BKDunn1992"/> ยุโรป<ref name="BKDunn1992"/> และอเมริกาเหนือและใต้<ref name="isbn0-449-90496-2">{{cite book |author=Weatherford, J. McIver |title=Indian givers: how the Indians of the America transformed the world |publisher=Fawcett Columbine |location=New York |year=1988 |pages=117–150 |isbn=0-449-90496-2 |oclc= |doi=}}</ref> มโนทัศน์ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนเกิดขึ้นส่วนใหญ่จากแนวคิดและสถาบันซึ่งได้ถูกพัฒนาระหว่าง[[ยุคกลาง]]ของยุโรปและ[[ยุคภูมิธรรม]]ใน[[การปฏิวัติอเมริกา]]และ[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]<ref>"[http://www.britannica.com/EBchecked/topic/157129/democracy Democracy]". Encyclopædia Britannica.</ref>
 
ประชาธิปไตยถูกเรียกว่า "ระบอบการปกครองสุดท้าย" และแพร่หลายอย่างมากไปทั่วโลก<ref>"The Global Trend" chart on [http://www.freedomhouse.org/template.cfm?page=130&year=2007 Freedom in the World 2007: Freedom Stagnation Amid Pushback Against Democracy] published by [[Freedom House]]</ref> สิทธิในการออกเสียงลงมติในหลายประเทศได้ขยายวงกว้างขึ้นเมื่อเวลาผ่านไปจากกลุ่มค่อนข้างแคบ (เช่น ชายมั่งมีในกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่ง ๆ) โดย[[นิวซีแลนด์]]เป็นชาติแรกที่ให้[[สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไป]]แก่พลเมืองทุกคนใน ค.ศ. 1893 ประชาธิปไตยมักถูกเข้าใจสับสนกับระบอบการปกครองแบบ[[สาธารณรัฐ]] ในบางนิยาม "สาธารณรัฐ" เป็นประชาธิปไตยรูปแบบหนึ่ง แต่นิยามอื่นทำให้ "สาธารณรัฐ" เป็นคำที่มีความหมายต่างหาก ไม่เกี่ยวข้องกัน<ref>"Republic," ''n''. Oxford English Dictionary 2011. OED Online. Oxford University Press. Accessed 12 December 2011</ref> อย่างไรก็ดี แม้การดำเนินการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยแม้จะได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน แต่ต้องเผชิญกับปัญหาหลายประการที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน อย่างเช่น ข้อพิพาทเกี่ยวกับดินแดน [[การเข้าเมือง|การอพยพเข้าเมือง]] และการกีดกันกลุ่มประชากรบาง[[ชาติพันธุ์]] เป็นต้น<ref name="Dis">[http://www.spiritus-temporis.com/democracy/advantages-and-disadvantages-of-democracy.html Advantages and disadvantages of democracy]</ref>
 
องค์การ[[สหประชาชาติ]]ได้ประกาศกำหนดให้วันที่ [[15 กันยายน]] ของทุกปี เป็น[[วันประชาธิปไตยสากล]]<ref>[http://www.un.org/News/Press/docs/2007/ga10655.doc.htm GENERAL ASSEMBLY DECLARES 15 SEPTEMBER INTERNATIONAL DAY OF DEMOCRACY; ALSO ELECTS 18 MEMBERS TO ECONOMIC AND SOCIAL COUNCIL<!--Bot-generated title-->]</ref>
 
== ศัพทมูลวิทยา ==
บรรทัด 22:
 
== ประวัติศาสตร์ ==
 
=== ยุคโบราณ ===
คำว่า ''ประชาธิปไตย'' ปรากฏขึ้นครั้งแรกในแนวคิดทางการเมืองและทางปรัชญาใน[[กรีซโบราณ]] ปราชญ์[[เพลโต]]เปรียบเทียบประชาธิปไตยซึ่งเขาเรียกว่าเป็น "การปกครองโดยผู้ถูกปกครอง" ว่าเป็นรูปแบบทางเลือกสำหรับระบอบ[[ราชาธิปไตย]] [[คณาธิปไตย]] และ[[เศรษฐยาธิปไตย]]<ref>[http://plato.stanford.edu/entries/plato-ethics-politics/#4.5 Political Analysis in Plato's Republic] at the Stanford Encyclopedia of Philosophy</ref> แม้ถือว่า[[ประชาธิปไตยแบบเอเธนส์]]เป็นการปกครองแบบประชาธิปไตยทางตรง แต่เดิมประชาธิปไตยแบบเอเธนส์มีลักษณะเด่นอยู่สองประการ คือ มีการคัดเลือกพลเมืองธรรมดาจำนวนมากเข้าสู่ระบบราชการและศาล<ref>Aristotle Book 6</ref> และมีการชุมนุมของพลเมืองทุกชนชั้น<ref>Grinin L. E. Democracy and Early State. Social Evolution & History 3(2), September 2004 (pp. 93-149)[http://old.uchitel-izd.ru/index.php?option=content&task=view&id=180&Itemid=58 Democracy and early State]</ref>
 
พลเมืองทุกคนมีสิทธิอภิปรายและลงมติในสภาซึ่งเป็นที่ออกกฎหมายของนครรัฐ ทว่า ความเป็นพลเมืองเอเธนส์นั้นรวมเฉพาะชายทุกคนซึ่งเกิดจากบิดาที่เป็นพลเมือง และผู้ที่กำลัง "รับราชการทหาร" ระหว่างอายุ 18-20 ปีเท่านั้น ซึ่งไม่รวม[[ผู้หญิง]] [[ทาส]] คนต่างชาติ ({{lang-gr|μετοίκος, ''metoikos''}}) และชายอายุต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ จากจำนวนผู้อยู่อาศัยกว่า 250,000 คน มีผู้ได้รับสถานะพลเมืองเพียง 30,000 คน และมีเพียง 5,000 คนเท่านั้นที่มักปรากฏตัวในสมัชชาประชาชน เจ้าพนักงานและผู้พิพากษาของรัฐบาลจำนวนมากเป็นการกำหนดเลือก มีเพียงเหล่าแม่ทัพและเจ้าพนักงานเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่มาจากการเลือกตั้ง<ref name="BBC1"/>
 
อ้างว่าเกาะอาร์วัด (ปัจจุบันคือ [[ประเทศซีเรีย]]) ซึ่ง[[ฟินิเซีย|ชาวฟินิเซีย]]ก่อตั้งขึ้นเมื่อสหัสวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล เป็นตัวอย่างหนึ่งของระบอบประชาธิปไตยที่พบในโลก<ref>Bernal, p. 359</ref> ซึ่งที่นั่น ประชาชนถืออำนาจอธิปไตยของตน และอีกตัวอย่างหนึ่งที่น่าเป็นไปได้ คือ ประชาธิปไตยยุคเริ่มแรกอาจมาจากนครรัฐ[[สุเมเรียน]]<ref name=Jacobsen>Jacobsen, T. (July 1943), "Primitive Democracy in Ancient Mesopotamia", ''Journal of Near Eastern Studies'' '''2''' (3) : 159-72</ref> ฝ่าย[[เวสาลี]] ซึ่งปัจจุบันคือ[[รัฐพิหาร]] [[ประเทศอินเดีย]] เป็นรัฐบาลแรก ๆ ของโลกที่มีองค์ประกอบอันพิจารณาได้ว่ามีการปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นแห่งแรกของโลก (แต่มีบางคนโต้แย้งว่าการปกครองของเวสาลีนั้นไม่เป็นราชาธิปไตยก็จริง แต่น่าจะมีลักษณะเป็น[[คณาธิปไตย]]มากกว่าประชาธิปไตย) และยังปรากฏว่ามีการปกครองที่คล้ายคลึงกับประชาธิปไตยหรือคณาธิปไตยเกิดขึ้นชั่วคราวโดยชาว[[เมเดส]] ช่วงศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล แต่ถึงคราวสิ้นสุดเมื่อถึงรัชกาล[[พระเจ้าดาไรอัสมหาราช]]แห่ง[[ราชวงศ์อาร์เคเมนิด]] ผู้ทรงประกาศว่า ระบอบราชาธิปไตยที่ดีนั้นย่อมเหนือกว่าระบอบคณาธิปไตยและระบอบประชาธิปไตยทุกรูปแบบ<ref>{{citation|title=Flight and Freedom in the Ancient Near East|first=Daniel C.|last=Snell|publisher=Brill Publishers|year=2001|isbn=9004120106|page=18}}</ref>
 
นอกจากนั้น ยังมีการอ้างถึงสถาบันทางประชาธิปไตยในยุคเริ่มแรก โดยถือว่าเป็น "สาธารณรัฐ" อิสระใน[[ประเทศอินเดีย]] อย่างเช่น [[พระสงฆ์]]ซึ่งเริ่มต้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 แต่หลักฐานที่พบนั้นเลื่อนลอยและไม่สามารถหาแหล่งอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ได้แน่ชัด นอกจากนั้น ไดโอโดรุส ปราชญ์ชาวกรีกในรัชกาล[[พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช]] กล่าวถึงรัฐอิสระซึ่งปกครองระบอบประชาธิปไตยในอินเดีย<ref>Dio. 2.39</ref> แต่ไม่ได้ให้รายละเอียดเพิ่มเติม อย่างไรก็ตาม นักวิชาการสมัยใหม่กล่าวว่า คำว่า ''ประชาธิปไตย'' ในสมัยศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาลถูกลดความน่าเชื่อถือ และอาจหมายถึงรัฐอิสระซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการปกครองของประชาชนเลยแม้แต่น้อย<ref>Larsen, J. A. O., Demokratia, Classical Philology, Vol. 68, No. 1 (Jan., 1973), p. 45-46</ref><ref>de Sainte Croix G. E. M., The Class Struggle in the Ancient Greek World, Ithaca, 1981</ref>