ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดน้ำส้ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kannajaja (คุย | ส่วนร่วม)
แปลโครงสร้างสาร จากหน้าวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ เติมอ้างอิงและลิงค์เชื่อม
Kannajaja (คุย | ส่วนร่วม)
→‎คุณสมบัติของตัวทำละลาย: แปลเติมอ้างองและเติมลิงค์เชื่อม
บรรทัด 76:
 
=== คุณสมบัติของตัวทำละลาย ===
กรดแอซิติกในสถานะ[[ของเหลว]]เป็นตัวทำละลายที่[[สารละลายในน้ำ|ละลายในน้ำได้ดี]] (เนื่องจากมีขั้ว) และสามารถให้โปรตอนได้ เช่นเดียวกับ[[เอทานอล]]และน้ำ
{{โครงส่วน}}
เนื่องจากกรดแอซิติกมีค่าคงที่[[ไดอิเล็กทริก]] (dielectric constant) ในระดับปานกลางเท่ากับ 6.2 ทำให้กรดแอซิติกสามารถละลายได้ทั้งในสารที่มีขั้วเช่น เกลืออนินทรีย์และ[[น้ำตาล]] และสารที่ไม่มีขั้วเช่น น้ำมัน สารละลายที่ได้จากการผสมของกรดแอซิติกและตัวทำละลายที่มีขั้วและไม่มีเช่น น้ำ [[คลอโรฟอร์ม]] และ[[เฮกเซน]] เป็นสารเนื้อเดียว แต่ทว่าเมื่อผสมกรดแอซิติกกับตัวทำลายที่มีความเป็นด่างสูงเช่น [[ออกเทน]] (octane) สารละลายที่ได้จะเป็นสารเนื้อผสม นอกจากนี้แล้วความสามารถในการสร้างสารเนื้อเดียวเมื่อผสมกรดแอซิติกกับตัวทำละลายจะน้อยลงเมื่อตัวทำละลายมีโครง[[แอลเคน]]ที่ยาว<ref name="Zieborak">{{cite journal|title=none |first = K. |last=Zieborak |author2= Olszewski, K. |journal = Bulletin de l'Academie Polonaise des Sciences-Serie des Sciences Chimiques Geologiques et Geographiques |year = 1958|volume = 6|issue=2|pages=3315–3322}}</ref>
คุณสมบัติตัวทำละลายและการทำให้เป็นเนื้อเดียวของกรดแอซิติกสร้างประโยชน์ให้กับทางอุตสาหกรรมทางเคมีเช่น การนํากรดแอซิติกเป็นตัวทำละลายในการผลิต[[ไดเมธิลเทเรฟธาเลต]] (Dimethyl terephthalate)<ref name=Ullmann>{{Ullmann | author1 = Cheung, Hosea | author2 = Tanke, Robin S. | author3 = Torrence, G. Paul | title = Acetic Acid | doi = 10.1002/14356007.a01_045.pub2}}</ref>
 
=== ชีวเคมี ===