ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลเจ้าชินโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 7:
สำหรับศาลเจ้าขนาดเล็กริมทางเรียกว่า ''โฮโกระ'' (hokora) และศาลเจ้าพกพาเรียกว่า ''มิโกชิ'' (mikoshi) ซึ่งจะอัญเชิญแห่ในพิธี (มัตสึริ; matsuri) ทั้งคู่ก็จัดเป็นศาลเจ้าชินโตประเภทหนึ่งเช่นกัน
 
== รูปแบบ ==
== วัดพุทธกับศาลเจ้าชินโต ==
[[Image:Plan of Shinto Shrine.jpg|thumb|300px|ภาพวาดแสดงถาวรวัตถุต่าง ๆ ในศาลเจ้าชินโตทั่วไป]]
[[File:Tsurugaoka Hachimangū-ji.jpg|thumb|300 px|ภาพวาดโบราณแสดง[[ศาลเจ้าสึรูงาโอกะฮาจิมัง]]ซึ่งอยู่ด้านบนของภาพซึ่งมีวัดพุทธสร้างประกอบ สังเกตได้จากเจดีย์สองชั้นด้านล่าง]]
จากภาพ หมายเลขต่าง ๆ คือถาวรวัตถุที่มักพบในศาลเจ้าชินโต ดังนี้
จากเดิม การสร้างศาลเจ้าชินโตนั้นมักสร้างแบบชั่วคราว ไม่ได้มีลักษณะเป็นถาวรวัตถุ จนกระทั่งการเข้ามาของ[[พระพุทธศาสนา]] สร้างแนวติดของการสร้างถาวรวัตถุขึ้น<ref name="NKS">Fujita, Koga (2008:20-21)</ref> ซึ่งชาวญี่ปุ่นนิยมสร้างวัดพุทธไว้ประกอบร่วมกับศาลเจ้าชินโตเดิม ลักษณะนี้เรียกว่า ''จิงกู-จิ'' ({{nihongo|''jingū-ji''|神宮寺}}) ซึ่งแปลตรงตัวว่าวัดศาลเจ้า ซึ่งส่วนมากได้ถูกทำลายในภายหลังด้วยข้อกฏหมายใหม่ที่บัญญัติให้แยกวัดและศาลเจ้าออกจากกัน อย่างไรก็ตาม คติการสร้างศาลเจ้าชินโตใกล้กับวัดพุทธยังคงปรากฏให้เห็นทั่วไป เช่น [[วัดอาซากูซะ]]ใน[[โตเกียว]] ประกอบด้วย [[วัดเซ็นโซ]]ซึ่งเป็นวัดในพระพุทธศาสนา [[นิกายมหายาน]] กับ [[ศาลเจ้าอาซากูซะ]] ซึ่งเป็นศาลเจ้าชินโตที่บูชาดวงวิญญาณของผู้สร้างวัดเซ็นโซ เป็นต้น<ref>ข้อมูลจากหน้า [[ศาลเจ้าอาซากูซะ]] บนวิกิพีเดียภาษาไทย</ref> ซึ่งรูปแบบของศาลเจ้าอาซากูซะที่กล่าวไปข้างต้นจะเรียกว่า ''ชินจู-โด'' ซึ่งเป็น[[ศาลเจ้าชินโต#ชินจุชะ|ชินจูชะ]]ประเภทหนึ่ง
#''[[โทะริอิ]]'' – ทางเข้าศาลเจ้าชินโต
#บันไดหิน
#''ซันโด'' – ทางเดินตรงเข้าสู่ศาลเจ้า
#''โยซุยะ'' หรือ ''เทะมิซุยะ'' – จุดชำระล้างร่ายกายให้สะอาดก่อนเข้าศาลเจ้า โดยทั่วไปคือการใช้น้ำตักใส่กระบวยและล้างมือกับปาก
#''โตโร่'' – โคมไฟหิน
#''คางูะ-เด็น'' – อาคารสำหรับการแสดง[[โนะ]]
#''ชามุโชะ'' – สำนักงานบริหารของศาลเจ้า ในบางแห่งอาจรวมถึงร้านค้าของศาลเจ้า
#''เอะมะ'' – จุดแขวนป้ายคำอธิษฐาน หรือ จุดผูกดวงเซียมซีโชคร้าย
#''เซะฉะ''/''มัสสะ'' – ศาลเจ้าประกอบขนาดเล็ก
#''โคไมนุ'' – สิงโตหิน
#''ไฮเด็น'' – หอเคารพ บริเวณที่ผู้คนใช้สวดภาวนาและสักการะคามิ
#''ทะมะกะคิ'' – รั้วที่ล้อมรอบฮงเด็น
#''ฮงเด็น'' – อาคารหลัก สถิตคามิ โดยทั่วไปไม่เปิดให้สาธารณชนเข้าชมเด็ดขาด
 
อย่างไรก็ตาม ส่วนประกอบของศาลเจ้าชินโตมักมีการจัดรูปแบบที่หลากหลายกว่านี้มาก แม้นแต่ฮงเด็นซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่สุดของศาลเจ้าอาจไม่ก็ได้ หากคามิเชื่อว่าสถิตในบริเวณหรือสถานที่โดยรอบศาลเจ้า
โดยทั่วไปศาลเจ้าชินโตจะมีการสร้างใหม่บนศาลเจ้าเดิมเป็นรอบ ๆ เช่น [[ศาลเจ้าอิเซะ]]จะสร้างใหม่ทุก 20 ปี แต่ที่สำคัญเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกศาลเจ้ามาตลอดตั้งแต่อดีต คือจะไม่มีการเปลี่นทรงศาลเจ้า''เด็ดขาด'' และจะสร้างด้วยสถาปัตยกรรมดั้งเดิมเหมือนศาลเจ้าหลังเดิมเท่านั้น<ref name="NKS"/>
 
== ชินจูชะ ==