ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาคำฟั่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 8045611 สร้างโดย พุทธามาตย์ (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ย้อนการแก้ไขที่ 8046899 สร้างโดย 2403:6200:8827:5831:91CE:3538:54F3:4022 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| ภาพimage = ไฟล์:King kumfun.jpg
| สีพิเศษ = #ffcc00
| birth_date = พ.ศ. 2299
| สีอักษร = #8f5f12
| death_style = อสัญกรรม
| ภาพ = ไฟล์:King kumfun.jpg
| วันพิราลัยdeath_date = [[13 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2368]] (6971 พรรษาปี)
| พระนามาภิไธย = เจ้ามหาสุภัทรราชะ
| succession1 = พระยานครลำพูน
| พระปรมาภิไธย =
| ราชสมภพreign1 = [[พ.ศ. 2299]]2357 - 2358
| รัชกาลถัดมาsuccessor1 = [[พระเจ้าลำพูนไชย|พระเจ้าบุญมา]] (ลำพูน) <br>[[พระยาพุทธวงศ์]] (เชียงใหม่)
| วันพิราลัย= [[13 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2368]] (69 พรรษา)
| พระอิสริยยศsuccession2 = พระยานครลำพูน<br>พระยานครอุปราชเมืองเชียงใหม่
| reign2 = พ.ศ. 2358 - 2366
| พระบิดา =[[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]]
| รัชกาลก่อนหน้าpredecessor2 = [[พระยาธรรมลังกา]] (เชียงใหม่)
| พระมารดา= แม่เจ้าจันทา
| successor2 = [[พระยาพุทธวงศ์]]
| พระมเหสี = แม่เจ้าเนตรนารีไวย<br>แม่เจ้าคำแปง
| succession3 = พระยานครเชียงใหม่
| พระโอรส/ธิดา = 44 พระองค์
| reign3 = พ.ศ. 2366 - 2368
| ราชวงศ์ = ทิพย์จักร
| predecessor3 = [[พระยาธรรมลังกา]]
| ทรงราชย์ = [[พ.ศ. 2357]] - [[พ.ศ. 2358]]<br>[[พ.ศ. 2365]] - [[พ.ศ. 2368]]
| successor3 = [[พระยาพุทธวงศ์]]
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| พระบิดาfather1 =[[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี สิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]]
| ระยะเวลาครองราชย์ = 1 ปี / 2 ปี
| พระมารดาmother1 = แม่เจ้าจันทา
| รัชกาลก่อนหน้า = [[พระยาธรรมลังกา]] (เชียงใหม่)
| พระมเหสีspouse = แม่เจ้าเนตรนารีไวย<br>แม่เจ้าคำแปง
| รัชกาลถัดมา = [[พระเจ้าลำพูนไชย|พระเจ้าบุญมา]] (ลำพูน) <br>[[พระยาพุทธวงศ์]] (เชียงใหม่)
| issue1 = 44 องค์
| ราชวงศ์dynasty = ทิพย์จักร
}}
 
'''พระยาคำฟั่น'''<ref>วงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่, บรรณาธิการ, [http://opac.payap.ac.th/multi/ref/rft000002.pdf เจ้าหลวงเชียงใหม่], 2539, เชียงใหม่ : คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่</ref> หรือ '''พระญาคำฝั้น'''<ref name=chiangmainews>[http://www.chiangmainews.co.th/chaingmai/comefun.html พระญาคำฝั้น เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 3]</ref><ref>สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 348</ref> หรือ '''เจ้าหลวงเสษฐีคำฝั้น'''<ref>ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. '''เพ็ชร์ล้านนา'''. (ครั้งที่ 2) [[ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ :ผู้จัดการ ศูนย์ภาคเหนือ, 2538.</ref> หรือ]]ออกพระนามเต็มว่า '''"เจ้ามหาสุภัทรราชะ"''' ทรงเป็น[[เจ้าผู้ครองนครลำพูน]]องค์ที่ 1 <ref>http://hrilamphun.com/lam_4.htm</ref> ระหว่างปี พ.ศ. 2357 - พ.ศ. 2358 และ[[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]]องค์ที่ 3 ระหว่างปี พ.ศ. 2365 - พ.ศ. 2368 แห่ง[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]
 
== พระราชประวัติ ==
'''เจ้าหลวงพระยาคำฝั้นฟั่น''' เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 8 ใน[[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี สิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]] ผู้ครองนครลำปางองค์ที่ 2 กับแม่เจ้าจันทา และเป็นพระราชนัดดา (หลานปู่) ใน[[พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)]] กับแม่เจ้าพิมพา ซึ่งเป็นองค์ปฐมวงศ์ราชวงศ์ทิพย์จักร (เชื้อเจ้าเจ็ดตน)
 
เจ้าหลวงพระยาคำฝั้นฟั่น เป็นพระอนุชาของ[[พระเจ้ากาวิละ]] มีพระเชษฏา พระอนุชาและพระขนิษฐา รวม 10 พระองค์ (หญิง 3 ชาย 7) (เจ้าชายทั้ง 7 พระองค์ได้ทรงช่วยกันต่อสู้อริราชศัตรูขยายขอบขัณฑสีมาล้านนาออกไปอย่างเกรียงไกร เป็นเหตุให้มีพระสมัญญาว่า "เจ้าเจ็ดตน") มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
 
* [[พระเจ้ากาวิละ]] พระเจ้านครเชียงใหม่ พระองค์ที่ 1 (นับเป็น "เจ้านครลำปาง องค์ที่ 3" ในราชวงศ์ทิพย์จักร
เส้น 38 ⟶ 40:
* [[พระเจ้าลำพูนไชย|พระเจ้าบุญมา]] พระเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 2
 
เจ้าหลวงคำฝั้น เษกฝั้นเษกสมรสกับแม่เจ้าตาเวย ราชธิดาในเจ้าฟ้าเมืองยางแดง (หรือ เมืองกันตะระวดี) อันเป็นดินแดนกะเหรี่ยงที่รุ่งเรืองและร่ำรวยมากไปด้วย[[สัก (ต้นไม้)|ไม้ขอนสัก]]อันล้ำค่า ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]ได้รับพระราชทานพระนามอันเป็นมงคลยิ่งแก่แม่เจ้าตาเวยราชเทวี ว่า "แม่เจ้าเนตรนารีไวยมหาเทวี" แม่เจ้าตาเวยราชเทวี ได้รับมรดกส่วนพระองค์ ในฐานะราชธิดาเจ้าฟ้าเมืองยางแดง เป็นที่ดินป่าไม้ขุนยวม [[อำเภอแม่สะเรียง]] [[จังหวัดแม่ฮ่องสอน]] จำนวน 400,000 กว่าไร่ ซึ่งปัจจุบันที่ดินดังกล่าวราชสำนักสยามได้ตัดสินให้เป็นป่าไม้ชั้น 2
 
เจ้าหลวงคำฝั้นฟั่น ได้รับแต่งตั้งเป็น'''พระยาราชวงศ์'''<ref>วรชาติ มีชูบท (2556) '''เจ้านายฝ่ายเหนือ และตำนานรักมะเมียะ''' กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊ค หน้า 4</ref>เมืองเชียงใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ต่อมา จ.ศ. 1176 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระดำริให้รื้อฟื้นเมืองลำพูนไชยซึ่งร้างอยู่ให้กลับเป็นเมือง จึงโปรดเกล้าเลื่อนพระยาราชวงศ์คำฟั่นเป็น'''พระยาลำพูนไชย''' ครองเมืองลำพูนตั้งแต่วันพฤหัสบดี ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 11 ศกนั้น<ref>''พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย'', หน้า 95</ref> ปีต่อมาทรงเลื่อนพระยาลำพูนคำฟั่นเป็น'''พระยาอุปราช'''เมืองเชียงใหม่<ref>''พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย'', หน้า 96</ref> ถึง จ.ศ. 1185 จึงโปรดให้เลื่อนเป็น'''พระยาเชียงใหม่'''<ref>''พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย'', หน้า 97</ref> มีพระนามว่า'''เจ้ามหาสุภัทรราชะ'''<ref>''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี'', หน้า 160</ref> หรือ '''เจ้ามหาสุภัทราราช'''<ref>''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่'', หน้า 215</ref>
 
เจ้าหลวงพระยาคำฝั้น ถึงแก่พิราลัย อสัญกรรมเมื่อวันแรม 8 ค่ำ เดือน 8 จ.ศ. 1187 ปีระกา<ref>''พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย'', หน้า 98</ref> ตรงกับวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2368 แต่ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ระบุว่าเป็นวันแรม 11 ค่ำ เดือน 5 ตรงกับวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2368 สิริอายุได้ 71 ปี<ref>''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่'', หน้า 219</ref>
 
== ราชโอรส ราชธิดา ==
เส้น 130 ⟶ 132:
เมื่อพระยาเศรษฐีคำฝั้น ครองเมืองเชียงใหม่ ได้เกิดการทะเลาะวิวาทกับเจ้าราชวงศ์สุวัณคำมูน ทำให้บรรดาขุนนางได้ไปเชิญ[[พระเจ้าดวงทิพย์|เจ้าดวงทิพย์]] และ[[พระเจ้าลำพูนไชย|เจ้าบุญมา]] มาประนีประนอมการวิวาทครั้งนี้ โดยแนะนำให้พระยาคำฝั้น เสด็จออกผนวช[[วัดเชียงมั่น]] แล้วไปจำพรรษาที่[[วัดสวนดอก (พระอารามหลวง)|วัดสวนดอก]] จากนั้นได้มีการปล่อยรถม้าเสี่ยงทายหาเจ้าหลวงองค์ใหม่ แต่รถม้าดังกล่าวกลับมาหยุดอยู่ที่บริเวณหน้าวัดสวนดอก ซึ่งเป็นที่ประทับของพระยาคำฝั้น เหลาบรรดาเจ้านาย และขุนนางจึงได้อัญเชิญพระยาคำฝั้น ให้ลาสิกขาบทกลับมาครองนครเชียงใหม่อีกครั้ง<ref name=chiangmainews/>
 
ในช่วงรัชกาลของพระยาคำฝั้น เป็นช่วงเวลาที่[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]เสด็จสวรรคต และกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ได้ขึ้นครองราชสมบัติเป็นรัชกาลที่ 3 แห่งราชวศ์จักรี ใน พ.ศ. 2367 และพระยาหลวงฯ ประชวรในขณะที่ส่ง[[พระยาพุทธวงศ์|พระยาอุปราชพุทธวงศ์]]และเจ้านายบางส่วนไปเฝ้ารัชกาลที่ 3 เมื่อล้นเกล้ารัชกาลที่ 3 ทรงทราบถึงอาการเจ็บป่วย จึงได้จัดส่งแพทย์หลวงมารักษาแต่อาการก็ไม่ดีขึ้น จนถึงวันอาทิตย์ เดือนห้า แรม 11 ค่ำ ในเวลาบ่าย พระยาคำฝั้นก็ถึงแก่พิราลัย ในจุลศักราช 1186 (ตรงกับวันที่ [[13 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2368]]) สิริอายุรวม 69 ปี และพระยาอุปราชพุทธวงศ์ ขึ้นเป็นเจ้าผู้ครองนครองค์ที่ 4 โดยมีเจ้าหนานมหาวงศ์ บุตร[[พระยาธรรมลังกา]]เป็นพระยาอุปราช และเจ้าน้อยมหาพรหม บุตรพระยาคำฝั้น เป็นพระยาราชวงศ์เชียงใหม่สืบไป<ref name=chiangmainews/>
 
==พงศาวลี==
เส้น 144 ⟶ 146:
|boxstyle_5=background-color: #9fe;
|1= '''พระยาคำฟั่น'''
|2= [[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี สิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]]
|3= แม่เจ้าจันทา
|4= [[พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)]]
เส้น 163 ⟶ 165:
 
== อ้างอิง ==
;เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
;บรรณานุกรม
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* ''ประชุมพงศาวดารภาคที่ 3'' "เรื่อง พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย"
* {{อ้างหนังสือ| ชื่อหนังสือ = ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี| จังหวัด = เชียงใหม่| พิมพ์ที่ = ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่| ปี = 2538| ISBN = 974-8150-62-3| จำนวนหน้า = 320}}
* ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. '''เพ็ชร์ล้านนา'''. (ครั้งที่ 2) เชียงใหม่ :ผู้จัดการ ศูนย์ภาคเหนือ, 2538.
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = [[พระยาประชากิจกรจักร (แช่ม บุนนาค)|ประชากิจกรจักร, พระยา]]| ชื่อหนังสือ = พงศาวดารโยนก| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2557| ISBN = 978-616-7146-62-1| จำนวนหน้า = 496}}
* สมหมาย เปรมจิตต์, สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. '''ตำนานสิบห้าราชวงศ์ (ฉบับสอบชำระ) '''. เชียงใหม่: มิ่งเมือง, 2540.
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = มหาอำมาตยาธิบดี (หรุ่น ศรีเพ็ญ), พระยา| ชื่อหนังสือ = พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย| URL = http://www.finearts.go.th/chiangmailibrary/index.php/2016-08-20-05-05-37/book/233?tmpl=component&print=1| จังหวัด = พระนคร| พิมพ์ที่ = โรงพิมพ์พระจันทร์| ปี = 2505 | จำนวนหน้า = 35| หน้า = }} [พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระพิจิตรโอสถ (รอด สุตันตานนท์)]
* เจ้าวงศ์สัก ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่. '''เจ้าหลวงเชียงใหม่'''. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว และเดวิด เค วัยอาจ (ปริวรรต)| ชื่อหนังสือ = ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่| จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = ตรัสวิน| ปี = 2543| ISBN = 9747047683| จำนวนหน้า = 220}}
* คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์, นาวาอากาศเอก. '''เจ้านายฝ่ายเหนือ'''. [http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna.html]
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เริ่มกล่อง}}