ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุชีพ ปุญญานุภาพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thanee Dharmabhiraksa (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
นิลกาฬ (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 59:
# ถึงพระสงฆ์ที่บวชเรียนและจบจากมหาวิทยาลัยสงฆ์จะสึกหาลาเพศไป ก็จะเป็นศาสนทายาท ช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนาในหน่วยงานของตนๆ ได้
 
หลังจากทรงทราบรายละเอียด อันรวมทั้งวัตถุประสงค์และวิธีดำเนินการแล้ว สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ก็ทรงออกหน้าให้ความอุปถัมภ์ เมื่อสมเด็จพระสังฆราชเจ้าฯ ทรงเห็นชอบขึ้นมา คณะสงฆ์วัดบวรนิเวศวิหารก็เห็นชอบด้วย, ให้ความอุปถัมภ์จนถึงช่วยชี้แจงให้พระภิกษุสามเณรและพุทธศาสนิกชนทั่วไปเข้าใจด้วย ในที่สุด [[มหามกุฏราชวิทยาลัย]] อันเป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งแรกก็เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2488 โดยมีสุชีโว ภิกขุ เป็นเลขาธิการท่านแรก เมื่อเห็นมหามกุฏราชวิทยาลัยสามารถเปิดสอนได้ ฝ่ายคณะสงฆ์มหานิกายก็รื้อฟื้น [[มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]] ขึ้นตามมาในปี พ.ศ. 2490 ประเทศไทยเราจึงมีมหาวิทยาลัยสงฆ์ที่สร้างศาสนทายาทถึง 2 แห่งซึ่งขณะนี้ ได้ขยายวิทยาเขตไปทั่วประเทศเพราะความมานะบากบั่นริเริ่มของท่านอาจารย์[[สุชีพ ปุญญานุภาพ]] โดยแท้ บทความได้สรุปว่าคุณูปการที่อ.สุชีพได้กระทำเหล่านี้ สมควรที่ชาวพุทธจะร่วมกันเชิดชูเกียรติท่านอาจารย์ [[สุชีพ ปุญญานุภาพ]] ไว้ในฐานะ [[บิดาแห่งมหาวิทยาลัยสงฆ์ไทย]] ในบันทึกประวัติศาสตร์เพื่อให้ชาวพุทธรุ่นหลังได้รับรู้ต่อไป<ref>https://www.thairnews.com/%E0%B9%81%E0%B8%88%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A1-%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88/</ref>
 
==กิจกรรมเพื่อพระพุทธศาสนา==