ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช่างสิบหมู่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 7:
"ตามปกติการปกครองเมืองสมัยโบราณ จัดเป็น[[จตุสดมภ์]] คือเป็นกระทรวงเวียง วัง คลัง นา กระทรวงใดมีกิจจะต้องทำสิ่งซึ่งต้องอาศัยฝีมือช่าง ก็ต้องหาช่างชนิดที่ต้องการใช้มารวบรวมตั้งไว้ในกระทรวงนั้นเพื่อใช้ จึงได้มีการช่างมากมายกระจัดกระจายอยู่ในที่ต่างๆหลายกระทรวงด้วยกัน ตามที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ตรัสไว้ ดังจะยกตัวอย่างให้เห็น เช่น กระทรวงวัง มีกรมทหารในกรมรักษาพระองค์ แต่มีกรมช่างทหารในขึ้นอยู่ในกรมทหารในนั้นอีกชั้นหนึ่ง เจ้ากรมคือ[[หลวงประดิษฐ์นิเวศน์]] เห็นได้ตามชื่อว่ามีหน้าที่ปลูกสร้างเรือนหลวงในพระราชนิเวศน์ คงมีขึ้นด้วยเหตุที่เจ้ากรมหรือปลัดกรมคนใดคนหนึ่งในกรมทหารในเป็นผู้เข้าใจการปลูกสร้างจึงตรัสใช้ ผู้รับสั่งนั้นก็ต้องเสาะหาช่างมาเป็นลูกมือ งานมากขึ้น ช่างมากขึ้นก็ต้องตั้งขึ้นเป็นกรมทหารใน แม้แต่กรมมหาดเล็กก็ยังมีกรมช่างมหาดเล็ก เป็นอีกกรมหนึ่งเหมือนกัน มีช่างเขียน ช่างปั้นและอื่นๆ ช่างสิบหมู่จึงเป็นชื่อกรมที่รวบรวมช่างไว้มีสิบหมู่ด้วยกัน แต่ไม่ได้หมายความว่าในบ้านเมืองมีช่างแค่สิบอย่างเท่านั้น ที่กล่าวมาเป็นเพียงตัวอย่างที่ยกมารวมไว้เรียกว่า "ช่างสิบหมู่" "
 
แท้จริงช่างไทยมีอยู่มากกว่า 10 หมู่ แต่ที่เรียกว่า "ช่างสิบหมู่" ก็เพื่อต้องการจะรวบรวมช่างที่เป็นส่วนสำคัญไว้ก่อนเพียง 10 หมู่ ต่อมาภายหลังจึงได้เพิ่มเติม หรือแยกแขนงออกไปอีกตามลักษณะของงานนั่นเอง ตามบัญชีชื่อช่างที่ขึ้นทำเนียบเป็นช่างหลวงมีดังต่อไปนี้ ช่างแม่ง ช่างหัวมัน ช่าง ช่าง ช่าง ช่าง ช่าง น้องเคยเห็นช่างรึเปล่า ช่างแอร์ในตำนาน ชางช่างช้างช๊างช๋าง
“ช่างสิบหมู่” ช่างสิบหมู่นี้ไม่ได้หมายความว่าเป็นจำนวนสิบ แต่สิบตัวนี้เป็นภาษาบาลีความเดิมเขียนว่า สิปปะ และหดไปเหลือ ป. ตัวเดียว แล้วลดมาเป็น บ. เป็นสิบ จะให้เข้าใจง่ายว่าช่างสิบประเภทก็เลยไม่มีใครเข้าใจภาษาดั้งเดิม ช่างสิปปะตรงกับในสันสกฤตแปลว่า “ศิลปะ” เพราะในภาษาสันสกฤตใช้ตัว ศ. ศิลปะกับสิปปะในบาลีจึงมีความหมายตรงกัน ช่างสิบหมู่คือช่างงานศิลปะ โดยในราชการของหลวงก็ต้องทำของใช้ในส่วนของราชการส่วนพระ ส่วนราชสกุล และบริการแก่ศาสนา บริการแก่ประชาชนจึงต้องมีช่างไว้มากมายหลายประเภท ช่างเหล่านี้ก็มาจากการรวบรวมคนที่มีความสามารถมีฝีมือจากพื้นถิ่นพื้นบ้านเอามาเป็นช่างหลวงรวมไว้ในหมู่ กรมช่างสิบหมู่เดิมก็ถูกรวมเป็นกรมศิลปากรแล้วก็มาเป็นกองหัตถศิลป์ใน สุดท้ายเปลี่ยนเป็นกรมศิลปากร ในปัจจุบัน