ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ละครวิทยุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Pn657 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 2:
ผู้ประพันธ์จะต้องหาวิธีสร้างจินตนาการให้แก่ผู้ฟัง ให้สามารถเข้าใจและนึกถึงภาพความเป็นไปของเรื่องได้ล นับตั้งแต่บุคลิกลักษณะ กิริยาท่าทาง อุปนิสัยใจคอของ
ตัวละคร อารมณ์และความรู้สึกต่างๆ จะต้องแสดงออกทางคำพูดของตัวละคร ใส่ความรู้สึกทางคำพูด การเจรจาบทต้องใส่อารมณ์เป็นพิเศษ เพราะผู้ฟังมองไม่เห็น
ภาพตัวละคร บทละครวิทยุต้องในอดีตจะมี '''บทบรรยาย''' แทรกเพื่อช่วยให้การดำเนินเรื่องกระชับ เป็นการเล่าประวัติ เหตุการณ์ต่างๆ เสริมจาก บทละคร
ผู้ประพันธ์อาจใช้วิธีบรรยายโดยสอดแทรกไว้ในบทสนทนาของตัวละคร ผู้ควบคุมการแสดง จะต้องมีความสามารถเข้าใจ ตอนไหนจะให้ตัวละครใช้เสียงอย่างไร
เพื่อให้เข้ากับบรรยากาศของเรื่อง ตัวละครสำหรับบทละครวิทยุต้องมีตัวสำคัญประมาณ 3-4 ตัวและต้องเลือกผู้แสดงที่มี
บรรทัด 35:
*[[ธนาคารออมสิน]]
*คณะสำราญ​กับสหาย
*สวศ.การละคร (สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย เพื่อการศึกษา กรมประชาสัมพันธ์) ละครแนวสร้างสรรค์สังคม เช่น ใครกำหนด (ผู้แสดง อาทิ รัตนาภรณ์ แพนลา,จีราภา ปัจศิลป์,ไอศูรย์ เนียมสมบุญฯลฯ)
*มิตรปราโมทย์ ละครแนวสร้างสรรค์สังคม และละครทั่วไป (ผู้แสดง อาทิ ปราโมทย์ สัชฌุกร,จีราภา ปัจจศิลป์,ไอศูรย์ เนียมสมบุญ,เชวง บัวอ่อน ฯลฯ)
 
== อ้างอิง ==