ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาสติปัฏฐานสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BallWarapol (คุย | ส่วนร่วม)
BallWarapol (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 42:
 
2. '''อิริยาปถบรรพะ''' - แสดงวิธีการทำกรรมฐานที่เรียนมาใดๆ ทั้งสมถะและวิปัสสนาให้ต่อเนื่องทุกอิริยาบถใหญ่ทั้ง 4 [[อิริยาบถ]] คือ ยืน เดิน นั่ง นอน. กล่าวคือ เมื่อเรียนกรรมฐานมีอานาปานัสสติเป็นต้นแล้ว ก็ให้บริหารให้เจริญขึ้นต่อเนื่องอยู่ตลอดทั้งอิริยาบถใหญ่และอิริยาบถย่อย.
 
มีประเด็นว่า มหาอรรถกถา<ref>ม.อ. (ปปญฺจ.๑) [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/read_th.php?B=7&A=8141&w=อิริยาปถสมฺปชญฺ สติปฏฺฐานสุตฺตวณฺณนา]</ref>ไม่ให้ปฏิบัติวิปัสสนาโดยใช้อิริยาบถใหญ่และอิริยาบถย่อย เพราะอิริยาบถไม่ใช่[[สัมมสนรูป]], แต่พระมหาสิวะได้อธิบายวิธีที่สามารถนำมาทำวิปัสสนาได้ โดยการแยก[[รูปปรมัตถ์]]ออกจากอิริยาบถที่เป็น[[อัตถบัญญัติ]] แล้วทำวิปัสสนาเฉพาะในสัมมสนรูป. อย่างไรก็ตาม เมื่อวิเคราะห์โดยหลัก[[s:เนตติ_สังคหวาระ-อุทเทสวาระ-นิทเทสวาระ#หาระสังเขป|จตุพยูหหาระ]]แล้ว วัตถุประสงค์ของบรรพะนี้ คือ การเน้นให้[[โยคี]]ทำกรรมฐานที่เรียนมาเช่นอานาปานัสสติเป็นต้นตลอดเวลาไม่ขาดช่วง, ฉะนั้น มติของ[[มหาอรรถกถา]]จึงอธิบายโครงสร้างของสูตรได้ตรงตามพุทธประสงค์มากกว่า. ส่วนมติของพระมหาสิวะนั้นก็ถูกต้องตามหลักธรรมะและช่วยอธิบายเรื่องสมถยานิกและวิปัสสนายานิกที่มาในมหาอรรถกถาด้วย แม้จะไม่เข้ากับโครงสร้างของสูตรนี้ก็ตาม. ทั้งสองมติ'''ไม่ได้ขัดแย้งกัน'''และเป็นประโยชน์ทั้งคู่ พระพุทธโฆสาจารย์จึงไม่ตัดสินถูกผิดใดๆ ในสองมตินี้ เพียงแต่ให้มติของมหาอรรถกถาเป็นมติหลัก เพราะมติของมหาอรรถกถาเข้ากับโครงสร้างของสูตรมากกว่า.
 
อิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะ เป็นกรรมฐานที่เหมาะกับวิปัสสนายานิก เพราะ
 
:#ตาม[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=10&i=273&p=6&h=ส่วนพระมหาสิวเถระกล่าวว่า#สรุปความ มติของพระมหาสิวะ]อารมณ์ที่แสดงในบรรพะนี้และสัมปชัญญะบรรพะไม่ใช่อารมณ์แบบ[[อัปปนากรรมฐาน]] 30 จึงทำให้ถึงอัปปนาไม่ได้.
:#แม้ตาม[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=10&i=273&p=6&h=ไม่เกิดในอิริยาบถ%20สัมปชัญญะ#สรุปความ มติของมหาอรรถกถา] ว่าบรรพะนี้จะไม่ได้แสดงอารมณ์กรรมฐานไว้โดยตรง เพราะ'''เป็นแค่บรรพะที่ย้ำให้ทำกรรมฐานใดๆ ให้ตลอดเวลาไม่มีหยุดพัก''' จึงไม่แสดงอารมณ์ของกรรมฐานไว้โดยตรง, แต่อิริยาบถเองก็เป็นทั้งบัญญัติด้วย ซ้ำอิริยาบถยังเป็นบัญญัติแบบเดียวกับอสัมมสนรูปด้วย อรรถกถาจึงกล่าวว่าไม่ต้องเรียนกรรมฐานใน 2 บรรพะนี้. อย่างไรก็ตามเมื่อทำธาตุมนสิการบรรพะแล้วจะสามารถแยกอิริยาบถบัญญัติจากปรมัตถ์ตามมติคำอธิบายของพระมหาสิวะแล้วด้านล่าง ก็จะได้อารมณ์เป็นรูปปรมัตถ์ ซึ่งรูปปรมัตถ์ไม่เป็นอารมณ์ของอัปปนาฌาน, ฉะนั้น อัปปนาจึงไม่เกิดในสองบรรพะนี้, แต่สามารถทำวิปัสสนาได้. ในมหาอรรถกถาของสองบรรพะนี้จึงแสดงวิปัสสนาไว้ และกล่าวว่าบรรพะนี้เหมาะกะสมถยานิก.
:#ตาม*[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=10&i=273&p=6&h=ส่วนพระมหาสิวเถระกล่าวว่า#สรุปความ มติของพระมหาสิวะ]อธิบายคำของมหาอรรถกถาว่า อารมณ์ที่แสดงในบรรพะนี้และสัมปชัญญะบรรพะไม่ใช่อารมณ์แบบ[[อัปปนากรรมฐาน]] 30 จึงทำให้ถึงอัปปนาไม่ได้, และยังไม่ใช่ธรรมที่ควรสัมมสนะอีกด้วย. แต่เมื่อผ่านธาตุมนสิกาบรรพะมาแล้ว ก็จะสามารถแยกอิริยาบถและสัมปชัญญะไม่ให้เป้นสัตว์บุคคลได้ ดังนั้น จึงสามารถทำวิปัสสนาได้.
:#[[s:วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_๘_อนุสสติกัมมัฏฐานนิทเทส#อิริยาบถที่สมควร|อัปปนาสามารถเกิดได้ง่ายกว่าในอิริยาบถนั่ง]], ถ้าท่านแสดงสองบรรพะนี้เป็นสมถะด้วย โยคีผู้ใหม่จะเดินบ้าง นอนบ้างทำสมถะ ซึ่งเป็นอิริยาบถที่ยากต่อการทำให้เกิดอัปปนา. แม้ผู้ที่ได้วสีแล้ว อิริยาบถนั่งก็ยังเป็นอิริยาบถที่เข้าอัปปนาได้ง่ายกว่า. อย่างไรก็ตาม สมถายานิกผู้ใหม่เมื่อเริ่มทำสมถะก็ควรทำทั้งอิริยาบถใหญ่และย่อยเช่นกันเพื่อรักษานิมิตกรรมฐาน เพียงแต่เน้นที่อิริยาบถนั่งเพราะจิตจะตั้งมั่นได้ง่ายกว่า กรรมฐานจะเจริญขึ้นง่ายและไวกว่าอิริยาบถอื่น.
 
ด้วยประการดังกล่าวมาแล้วนั้น อิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะจึงเหมาะกับวิปัสสนายานิก. นอกจากนี้ มหาอรรถกถาของบรรพะนี้ก็อธิบายไว้ตามแนววิปัสสนาด้วย.
 
มีประเด็นว่า มหาอรรถกถา<ref>ม.อ. (ปปญฺจ.๑) [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/read_th.php?B=7&A=8141&w=อิริยาปถสมฺปชญฺ สติปฏฺฐานสุตฺตวณฺณนา]</ref>ไม่ให้ปฏิบัติวิปัสสนาโดยใช้อิริยาบถใหญ่และอิริยาบถย่อย เพราะอิริยาบถไม่ใช่[[สัมมสนรูป]], แต่พระมหาสิวะได้อธิบายวิธีที่สามารถนำมาทำวิปัสสนาได้ โดยการแยก[[รูปปรมัตถ์]]ออกจากอิริยาบถที่เป็น[[อัตถบัญญัติ]] แล้วทำวิปัสสนาเฉพาะในสัมมสนรูป. อย่างไรก็ตาม เมื่อวิเคราะห์โดยหลัก[[s:เนตติ_สังคหวาระ-อุทเทสวาระ-นิทเทสวาระ#หาระสังเขป|จตุพยูหหาระ]]แล้ว วัตถุประสงค์ของบรรพะนี้ คือ การเน้นให้[[โยคี]]ทำกรรมฐานที่เรียนมาเช่นอานาปานัสสติเป็นต้นตลอดเวลาไม่ขาดช่วง, ฉะนั้น มติของ[[มหาอรรถกถา]]จึงอธิบายโครงสร้างของสูตรได้ตรงตามพุทธประสงค์มากกว่า. ส่วนมติของพระมหาสิวะนั้นก็ถูกต้องตามหลักธรรมะและช่วยอธิบายเรื่องสมถยานิกและวิปัสสนายานิกที่มาในมหาอรรถกถาด้วย แม้จะไม่เข้ากับโครงสร้างของสูตรนี้ก็ตาม. ทั้งสองมติ'''ไม่ได้ขัดแย้งกัน'''และเป็นประโยชน์ทั้งคู่ พระพุทธโฆสาจารย์จึงไม่ตัดสินถูกผิดใดๆ ในสองมตินี้ เพียงแต่ให้มติของมหาอรรถกถาเป็นมติหลัก เพราะมติของมหาอรรถกถาเข้ากับโครงสร้างของสูตรมากกว่า.
 
3. '''สัมปชัญญบรรพะ''' - แสดงวิธีการทำกรรมฐานใดๆ ที่เรียนมาทั้งสมถะและวิปัสสนาให้ต่อเนื่องทุกอิริยาบถย่อยทั้ง 7 คือ เดินหน้า ถอยหลัง แล เหลียว เหยียด คู้ ใช้สอยข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ. คำอธิบายที่เหลือดูคำอธิบายอิริยาบถบรรพะข้างบน.